Page 29 - ชุดการสอนเฟย123
P. 29
การตรวจสอบการใช้อ านาจรัฐ
ประกอบไปด้วย การตรวจสอบอ านาจรัฐโดยองค์กรอิสระ และการตรวจสอบโดยใช้อ านาจตาม
รัฐธรรมนูญ
การตรวจสอบอ านาจรัฐในองค์กรอิสระ
ผู้ตรวจการแผ่นดิน
ผู้ตรวจการแผ่นดิน (เดิมเรียกว่า ผู้ตรวจการแผ่นดินของรัฐสภา) คือ บุคคลที่ทรงแต่งตั้งตามค าแนะน า
ของวุฒิสภาจากผู้ซึ่งเป็นที่ยอมรับนับถือของประชาชน มีความรอบรู้และมีประสบการณ์ในการบริหารราชการ
แผ่นดิน วิสาหกิจ หรือกิจกรรมอันเป็นประโยชน์ร่วมกันของสาธารณะ และมีความซื่อสัตย์สุจริตเป็นที่ประจักษ์
ผู้ตรวจการแผ่นดินมีจ านวนสามคนซึ่งพระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งตามค าแนะน าของวุฒิสภา จากผู้ซึ่งได้รับการ
สรรหาโดยคณะกรรมการสรรหาผู้ซึ่งได้รับการสรรหาต้องเป็นผู้มีความซื่อสัตย์สุจริตเป็นที่ประจักษ์ และมี
ความรู้ ความเชี่ยวชาญและประสบการณ์เกี่ยวกับการบริหารราชการแผ่นดินไม่ต่ ากว่าอธิบดีหรือหัวหน้าส่วน
ราชการที่เทียบเท่าหรือหัวหน้าหน่วยงานของรัฐที่เทียบได้ไม่ต่ ากว่ากรมตามที่คณะกรรมการสรรหาประกาศ
ก าหนด โดยต้องด ารงต าแหน่งดังกล่าวเป็นเวลาไม่น้อยกว่าห้าปี จ านวนสองคน และเป็นผู้มีประสบการณ์ใน
การด าเนินกิจการอันเป็นสาธารณะมาแล้วไม่น้อยกว่ายี่สิบปี จ านวนหนึ่งคน
อ านาจหน้าที่
หน้าที่และอ านาจของผู้ตรวจการแผ่นดิน มาตรา ๒๓๐ ผู้ตรวจการแผ่นดิน มีดังต่อไปนี้เสนอแนะต่อ
หน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้องเพื่อให้มีการปรับปรุงกฎหมาย กฎ ข้อบังคับ ระเบียบ หรือค าสั่ง หรือขั้นตอนการ
ปฏิบัติงานใดๆ บรรดาที่ก่อให้เกิดความเดือดร้อนหรือความไม่เป็นธรรม แก่ประชาชน หรือเป็นภาระแก่
ประชาชนโดยไม่จ าเป็นหรือเกินสมควรแก่เหตุ
แสวงหาข้อเท็จจริงเมื่อเห็นว่ามีผู้ได้รับความเดือดร้อนหรือความไม่เป็นธรรมอันเนื่องมาจาก การไม่
ปฏิบัติตามกฎหมายหรือปฏิบัตินอกเหนือหน้าที่และอ านาจตามกฎหมายของหน่วยงานของรัฐ หรือเจ้าหน้าที่
ของรัฐ เพื่อเสนอแนะต่อหน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้องให้ขจัดหรือระงับความเดือดร้อน หรือความไม่เป็นธรรม
นั้นเสนอต่อคณะรัฐมนตรีให้ทราบถึงการที่หน่วยงานของรัฐยังมิได้ปฏิบัติให้ถูกต้องครบถ้วน ตามหมวด ๕
หน้าที่ของรัฐ