Page 7 - สรป 4Y กมธ กิจการเด็กฯ ชุด 25
P. 7
คณะกรรมาธิการกิจการเด็ก เยาวชน สตรี ผู้สูงอายุ ผู้พิการ กลุ่มชาติพันธุ์ และผู้มีความหลากหลายทางเพศ ชุดที่ ๒๕ จ
บทสรุปส าหรับผู้บริหาร
ตามที่ที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ ๒๕ ปีที่ ๑ ครั้งที่ ๒๑ (สมัยสามัญประจาปีครั้งที่หนึ่ง)
วันพุธที่ ๑๑ กันยายน ๒๕๖๒ ที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎร ได้ลงมติตั้งคณะกรรมาธิการกิจการเด็ก เยาวชน
ิ
ื่
สตรี ผู้สูงอายุ ผู้พการ กลุ่มชาติพนธุ์ และผู้มีความหลากหลายทางเพศ สภาผู้แทนราษฎร เพอให้มีหน้าที่
ั
และอ านาจตามข้อบังคับการประชุมสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. ๒๕๖๒ ข้อ ๙๐ (๕) ในการกระท ากิจการ พิจารณา
สอบหาข้อเท็จจริง หรือศึกษาเรื่องใด ๆ ที่เกี่ยวกับเด็ก เยาวชน สตรี ผู้สูงอายุ ผู้พการ กลุ่มชาติพนธุ์ และผู้มี
ิ
ั
ความหลากหลายทางเพศ รวมทั้งประสานกับองค์กรภายในประเทศ ต่างประเทศและประชาคมนานาชาติ
ื่
ั
เกี่ยวกับแนวทางความร่วมมือเพอแก้ปัญหาและส่งเสริมการคุ้มครองสิทธิและการพฒนาคุณภาพชีวิตเด็ก
เยาวชน สตรี ผู้สูงอายุ ผู้พิการ กลุ่มชาติพันธุ์ และผู้มีความหลากหลายทางเพศ
ิ
ื่
การด าเนินงานของคณะกรรมาธิการแบ่งออกเป็นการประชุมคณะกรรมาธิการเพอพจารณา
เรื่องต่าง ๆ ทั้งที่หยิบยกขึ้นมาพิจารณา และการร้องเรียนจากประชาชน จ านวน ๑๐๒ ครั้ง ครอบคลุมทั้งด้านเด็ก
เยาวชน สตรี ผู้สูงอายุ ผู้พการ กลุ่มชาติพนธุ์ และด้านผู้มีความหลากหลายทางเพศ การจัดสัมมนา
ิ
ั
เพอส่งเสริมความรู้และการมีส่วนร่วมของประชาชน จ านวน 87 ครั้ง มีกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรม
ื่
ื่
ู
ิ
ประมาณ 44,665 คน การศึกษาดงานในประเทศ เพอน าผลมาประกอบการพจารณาจัดท ารายงาน
ื่
่
ผลการศึกษาจ านวน 17 ครั้ง และการรับรองแขกตางประเทศที่เข้าพบเพอหารือ แลกเปลี่ยนแนวทาง
การด าเนินงานร่วมกัน 2 ครั้ง
จากการวิเคราะห์การด าเนินงานของคณะกรรมาธิการกิจการเด็ก เยาวชน สตรี ผู้สูงอายุ
ผู้พการ กลุ่มชาติพนธุ์ และผู้มีความหลากหลายทางเพศ พบว่ามีประเด็นที่ขับเคลื่อน ผลักดันให้เกิดผล
ั
ิ
เพื่อลดความเหลื่อมล้ าทั้งมิติด้านสังคม เศรษฐกิจ และกฎหมาย ส่งเสริมและแสวงหาแนวทางเพื่อลดภาระ
ิ่
ของรัฐอันเนื่องมาจากการจ ากัดสิทธิต่าง ๆ ตามบทกฎหมายที่สร้างขึ้น แต่เพมสิทธิและการเข้าถึงสิทธิ
อันพึงมีพึงได้ให้แก่ประชาชน อีกทั้งหามาตรการในการคุ้มครองความเป็นพลเมืองไทยอย่างเท่าเทียม ดังนี้
๑. การลดความเหลื่อมล้ า โดยการผลักดันร่างกฎหมายส่งเสริมและคุ้มครองกลุ่มชาติพนธุ์
ั
การรับรองสิทธิของบุคลในการเลือกใช้ค าน าหน้านามตามเพศสภาพของบุคคล การปรับปรุงกฎหมาย
เกี่ยวกับการค้าประเวณี เพอมุ่งหมายคุ้มครองผู้ค้าประเวณี การจัดท างบประมาณแผ่นดินโดยค านึงถึง
ื่
มิติเพศภาวะ (Gender Responsive Budgeting : GRB) เป็นต้น
ื่
๒. การพทักษ์และปกป้องสิทธิของบุคคล โดยการศึกษาเพอปรับปรุงกฎหมายที่เกี่ยวกับเด็ก
ิ
เยาวชน สตรี ผู้สูงอายุ ผู้พการ และผู้มีความหลากหลายทางเพศ ที่มีปัญหาการบังคับใช้ และเพอให้เหมาะสม
ื่
ิ
กับสภาวการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป เช่น สถานการณ์ผู้สูงอายุที่มีแนวโน้มสูงขึ้นอย่างก้าวกระโดด จ าเป็นที่จะต้อง
ปรับเปลี่ยนกระบวนทรรศน์ทั้งมิติด้านกฎหมาย ด้านสังคม และด้านเศรษฐกิจอายุวัฒน์ อย่างเหมาะสม เป็นต้น
๓. การมีบทบาทบนเวทีระหว่างประเทศ เพอสร้างความเท่าเทียมในฐานะพลเมืองของโลก
ื่
ที่ไร้พรมแดนทั้งเรื่องการยุติภาวะบุคคลไร้รัฐไร้สัญชาติ การถอนข้อสงวนในอนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก ข้อที่ ๒๒
ซึ่งประเทศไทยเป็นเพียงประเทศเดียวที่ยังคงไว้