Page 10 - สรุปผลการดำเนินงานการทำกระเป๋าผ้าญี่ปุ่นของกศน.ตำบลหนองกบ
P. 10

7


                                                         บทที่ ๔

                                                  ผลกำรวิเครำะห์ข้อมูล




                         จากการด าเนินการจัดโครงการส่งเสริมศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน กศน.ต าบลหนองกบ หลักสูตรการท า
               กระเป๋าผ้าญี่ปุ่น ระหว่างวันที่ 13 – 22 มกราคม 2563 ณ กศน. ต าบลหนองกบ อ าเภอหนองแซง จังหวัด
               สระบุรี มีผู้เข้าร่วมโครงการ จ านวน  15  คน  ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอ าเภอ

               หนองแซงได้วิเคราะห์ข้อมูลเพื่อสอบถามความพึงพอใจในการท ากิจกรรมดังนี้


                         วิธีกำรประเมิน


                      ๑. ใช้แบบสอบถามความคิดเห็นและความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อการจัดกระบวนการเรียนรู้

               โครงการส่งเสริมศูนย์ฝึกอาชีพชุมชนกับ กศน.ต าบลหนองกบ (หลักสูตรการท ากระเป๋าผ้าญี่ปุ่น) ซึ่งมีลักษณะ
               เป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่าโดยมีเกณฑ์การให้ผู้ตอบพิจารณา ดังนี้


                         มากที่สุด                  หมายถึงระดับคะแนน           ๕   คะแนน

                        มาก                         หมายถึงระดับคะแนน           ๔   คะแนน
                        ปานกลาง                     หมายถึงระดับคะแนน           ๓   คะแนน
                        น้อย                        หมายถึงระดับคะแนน           ๒   คะแนน
                        น้อยที่สุด                  หมายถึงระดับคะแนน           ๑   คะแนน

                       ๒. แจกแบบสอบถามให้แก่ผู้เข้าร่วมกิจกรรมโครงการส่งเสริมศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน กศน.ต าบลหนองกบ
               (หลักสูตรการท ากระเป๋าผ้าญี่ปุ่น)  จ านวน  15  คน


                       ๓. รวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์โดยใช้สถิติค่าเฉลี่ย ( X ) และค่าร้อยละ (Percentage)


                       ๔. เกณฑ์ที่ใช้ในการแปรผลค่าเฉลี่ย (X) เป็นดังนี้


                        ๔.๕๐ – ๕๐๐                  หมายถึง           มีความพึงพอใจมากที่สุด
                        ๓.๕๐ – ๔.๔๙                 หมายถึง           มีความพึงพอใจมาก
                        ๒.๕๐ –  ๓.๔๙                หมายถึง           มีความพึงพอใจปานกลาง

                        ๑.๕๐ – ๒.๔๙                 หมายถึง           มีความพึงพอใจน้อย
                        ๑.๐๐ – ๑.๔๙                 หมายถึง           มีความพึงพอใจน้อยที่สุด
                     ๕.  สรุปผลการวิเคราะห์และจัดท ารายงาน
   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15