Page 4 - สรุปผลการดำเนินงานการทำกระเป๋าผ้าญี่ปุ่นของกศน.ตำบลหนองกบ
P. 4
๑
บทที่ ๑
บทน ำ
1.หลักกำรและเหตุผล
การจัดการศึกษาอาชีพในปัจจุบันมีความส าคัญมากเพราะจะเป็นการพัฒนาประเทศให้มีความรู้
ความสามารถและทักษะในการประกอบอาชีพของบุคคล และกลุ่มบุคคล โดยส านักงาน กศน.ได้ก าหนดกรอบ
และยุทธศาสตร์ภายใต้แผนงาน : ยุทธศาสตร์พัฒนาการสึกษาเพื่อความยั่งยืน โครงการขับเคลื่อนการพัฒนา
การศึกษาที่ยั่งยืน กิจกรรมส่งเสริมศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน งบรายจ่ายอื่น เพื่อด าเนินการจัดการศึกษาให้ประชาชนที่
มีความสนใจ และส่งเสริมความเข้มแข็งให้แก่เศรษฐกิจชุมชน ตามศักยภาพของพื้นที่ โดยน้อมน าหลักของ
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติ
การจัดการศึกษาอาชีพในปัจจุบันมีความส าคัญมากเพราะจะเป็นการพัฒนาประเทศให้มีความรู้
ความสามารถและทักษะในการประกอบอาชีพของบุคคล และกลุ่มบุคคล เป็นการแก้ปัญหาการว่างงานและ
ส่งเสริมความเข้มแข็งให้แก่เศรษฐกิจชุมชน ส านักงาน กศน. ได้น านโยบายและยุทธศาสตร์ดังกล่าวสู่การปฏิบัติ
เพื่อจัดการศึกษาพัฒนาอาชีพให้กลุ่มเป้าหมายและประชาชนมีรายได้และมีงานท าอย่างยั่งยืน มีความสามารถ
เชิงการแข่งขันทั้งในระดับภูมิภาคอาเซียนและระดับสากล โดยจัดศูนย์ฝึกอาชีพชุมชนทั่วประเทศ โดยให้มีศูนย์
ฝึกชุมชนระดับจังหวัดทุกจังหวัด ซึ่งการด าเนินการดังกล่าวจะท าให้การจัดการศึกษาของประเทศและของ
ส านักงาน กศน. เป็นการจัดการศึกษาตลอดชีวิตในรูปแบบใหม่ที่สร้างความมั่นคงให้ประชาชนและประเทศชาติ
และจะท าให้การจัดการศึกษาของประเทศเป็นการจัดการศึกษาตลอดชีวิตอย่างแท้จริง
ส านักงาน กศน.จังหวัดสระบุรี เห็นว่าเพื่อเป็นการส่งเสริมสนับสนุนการด าเนินงานของศูนย์ฝึกอาชีพ
ชุมชนระดับจังหวัดให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ของกระทรวงศึกษาธิการ และแนวทางการขับเคลื่อนการศึกษา
ของส านักงาน กศน. โดยเฉพาะใน ๕ กลุ่มอาชีพใหม่ ดังนั้น จึงเป็นบทบาทของสถานศึกษา คือ กศน. อ าเภอ ที่
ได้มอบหมายให้ กศน. ต าบล ด าเนินการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพและการมีงานท าให้สอดคล้องตามความ
ต้องการของกลุ่มเป้าหมายและศักยภาพของพื้นที่ การด าเนินงานโครงการด าเนินงานโดยการอบรมสัมมนาเพื่อ
เข้าสู่ช่องทางการประกอบอาชีพ และการเรียนรู้อาชีพเพื่อการมีงานท า
2. วัตถุประสงค์
2.๑ เพื่อจัดสอนอาชีพให้แก่ประชาชนที่ต้องการเข้าสู่อาชีพใหม่ ให้มีงานท ามีรายได้
2.๒ เพื่อให้ผู้เรียนมีทักษะทางด้านอาชีพ และการเป็นผู้ประกอบการ
2.๓ เพื่อน าความรู้และประสบการณ์ในการเรียนรู้อาชีพไปใช้เทียบระดับการศึกษาและเทียบโอน
ความรู้และประสบการณ์เข้าสู่หลักสูตร กศน.