Page 54 - C:\Users\Dell_1\Documents\Flip PDF Professional\ยุทธศาสตร์เล่มปรับปรุง3\
P. 54

ตัวชี้วัดที่ 4.5       ระดับผลการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสการบริหารงานภาครัฐ
                                            อยู่ในระดับสูง หรือสูงมาก
                      หน่วยนับ             ร้อยละ


                   คําอธิบาย
                          เพื่อให้มหาวิทยาลัยราชภัฏมีการบริหารจัดการตามหลัก     กรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ป.ป.ช.)

                   ธรรมาภิบาล มีความโปร่งใส                     หรือเกณฑ์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง

                   ระดับผลการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสการ    การจัดเก็บข้อมูล

                   บริหารงานภาครัฐ หมายความถึง การประเมินคุณธรรมและ          พิจารณาตามผลการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส

                   ความโปร่งใสการบริหารงานภาครัฐ ตามเกณฑ์มาตรฐานคณะ     การบริหารงานภาครัฐ


                      ตัวชี้วัดที่ 4.6      จํานวนเครือข่ายความร่วมมือกับองค์กรภายในและต่างประเทศ

                        หน่วยนับ           เครือข่าย


                   คําอธิบาย                                     การจัดเก็บข้อมูล
                           เพื่อให้มหาวิทยาลัยราชภัฏได้รับการยอมรับระดับชาติ          นับจํานวนเครือข่ายความร่วมมือกับองค์กรภายในและ


                    และนานาชาติด้านการเป็นสถาบัน เพื่อการพัฒนาท้องถิ่น     ต่างประเทศที่มีการทําความร่วมมือ อย่างเป็นรูปธรรม มีการ
                          เครือข่ายความร่วมมือกับองค์กรภายในและต่าง ประเทศ   ดําเนินโครงการ กิจกรรมเชิงประจักษ์จากความร่วมมือนั้นในปี

                    หมายความถึง เครือข่ายความร่วมมือ ด้านต่าง ๆ ตาม พันธกิจ  ที่พิจารณา
                    ของมหาวิทยาลัยราชภัฏกับหน่วยงาน องค์กร ที่เป็นที่ ยอมรับ


                      ตัวชี้วัดที่ 4.7      มีระบบบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลอย่างน้อย 5 ระบบ

                        หน่วยนับ           ระบบ


                   คําอธิบาย


                           เพื่อให้มหาวิทยาลัยราชภัฏมีระบบการบริหารที่มี  System : DSS) และระบบสารสนเทศสํานักงาน (Office
                    ประสิทธิภาพและมีประสิทธิผล สามารถปรับตัว ให้ทันกับการ     Information System : OIS) โดยครอบคลุมการบริหาร
                    เปลี่ยนแปลง                                 จัดการ อย่างน้อย 5 ระบบ ดังนี้ 1) ระบบบริการการศึกษา 2)

                          ระบบบริหารจัดการ หมายความถึง ระบบสารสนเทศ  ระบบ การเงินและงบประมาณ 3) ระบบริหารงานบุคคล 4)

                    ระบบข้อมูลเพื่อการบริหารจัดการสถานศึกษาซึ่งมีการพัฒนา  ระบบ บัญชีและทรัพย์สิน 5) ระบบเอกสาร งานสารบรรณ
                    อย่างเป็นระบบ สามารถรองรับการปฏิบัติงานและการบริหาร  และระบบ
                                                                อื่น ๆ
                    งานของมหาวิทยาลัยได้อย่างมีประสิทธิภาพและมีการใช้ระบบ  การจัดเก็บข้อมูล

                    บริหารนั้นอย่างเป็นรูปธรรม ประกอบด้วยระบบย่อย คือ          นับจํานวนระบบหลักและระบบย่อยของมหาวิทยาลัย

                    ระบบประมวลผลรายการ (Transaction Processing System  ราชภัฏที่มีการพัฒนาและมีการดําเนินการ อย่างเป็นรูปธรรม

                    : TPS) ระบบจัดการรายงาน (Management Reporting Sys-     นําไปสู่การสนับสนุนการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพอย่าง
                    tem : MRS) ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ (Decision Support  เป็นรูปธรรม









               54     ยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ระยะ 20 ปี {พ.ศ. 2560 – 2579}
                      { ฉบับปรับปรุง 11 ตุลาคม 2561 }
   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59