Page 12 - 80 Questions
P. 12
Page 11
80 ค ำถำม 80 ค ำตอบ ที่ควรรู้กับ สิทธิบัตรทอง
กรณีได้ประสบอุบัติเหตุทั่วไป
1. เข้ารับการรักษากับหน่วยบริการของรัฐหรือเอกชนที่เข้าร่วมโครงการที่อยู่ใกล้ที่สุด
2. แจ้งความจ านงขอใช้สิทธิพร้อมแสดงหลักฐานประกอบ ได้แก่ บัตรประจ าตัวประชาชน หรือ
บัตรประจ าตัวที่มีรูปถ่ายซึ่งทางราชการออกให้ (เด็กอายุต ่ากว่า 15 ปี ใช้ส าเนาใบสูติบัตร
(ใบเกิด))
กรณีประสบภัยจำกรถ
ผู้มีสิทธิสามารถใช้สิทธิหลักประกันสุขภาพ ต่อเนื่องจากค่าเสียหายเบื้องต้นที่กองทุนทดแทน
ผู้ประสบภัยจากรถหรือบริษัทประกันภัยเป็นผู้จ่ายโดย
1. เข้ารับการรักษายังหน่วยบริการที่เข้าร่วมโครงการ
- แจ้งใช้สิทธิพร้อมหลักฐานประกอบ ได้แก่ บัตรประจ าตัวประชาชนหรือหลักฐานอื่นใดที่ทางราชการ
ออกให้และมีรูปถ่าย (หากเป็นเด็กใช้สูติบัตร) ส าเนา พ.ร.บ.รถที่ประสบภัย
- หากมีความเสียหายเกินค่าเสียหายเบื้องต้น ให้ผู้ป่วยส ารองจ่ายแล้วไปรับคืนจากบริษัทประกันภัย
ของคู่กรณี (กรณีได้ข้อยุติว่ารถคู่กรณีเป็นฝ่ายผิด)
2. เข้ารับการรักษายังหน่วยบริการที่ไม่เข้าร่วมโครงการ
- แจ้งใช้สิทธิพร้อมหลักฐานประกอบได้แก่ บัตรประจ าตัวประชาชนหรือบัตรประจ าตัวที่มีรูปถ่ายซึ่ง
ทางราชการออกให้ (เด็กอายุต ่ากว่า 15 ปี ใช้ส าเนาใบสูติบัตร (ใบเกิด)) ส าเนา พ.ร.บ.รถที่ประสบภัย
- ติดต่อสายด่วน สปสช. 1330 เพื่อประสานหาเตียงรองรับในการใช้สิทธิหลักประกันสุขภาพต่อเนื่อง
- หากมีความเสียหายเกินค่าเสียหายเบื้องต้น ให้ผู้ป่วยส ารองจ่ายแล้วไปรับคืนจากบริษัทประกันภัย
ของคู่กรณี (กรณีได้ข้อยุติว่ารถของคู่กรณีเป็นฝ่ายผิด)
หมำยเหตุ : คนไข้ต้องใช้สิทธิ พรบ. ให้ครบจ านวน 30,000 บาท(สามหมื่นบาทถ้วนก่อน) จึงจะ
สามารถใช้สิทธิบัตรทองต่อได้ หาก พรบ.ขาดคนไข้ต้องช าระเองในส่วน 30,000 บาทแรกก่อนจึงจะใช้
สิทธิบัตรทองต่อได้