Page 9 - com
P. 9

แต่ละพยางค์ในคําหนึ ง ๆ ของภาษาไทยแยกออกจากกันอย่างชัดเจน (ไม่เหมือนภาษาอังกฤษ
                      ที พยัญชนะสะกดอาจกลายเป นพยัญชนะต้นในพยางค์ถัดไป หรือในทางกลับกัน) ดังนั น

                                พยัญชนะหลายตัวของพยางค์ที อยู่ติดกันจะไม่รวมกันเป นกลุ่มพยัญชนะเลย

               ภาษาไทยมีกลุ่มพยัญชนะเพียงไม่กี กลุ่ม ประมวลคําศัพท์ภาษาไทยดั งเดิมระบุว่ามีกลุ่ม
               พยัญชนะ (ที ออกเสียงรวมกันโดยไม่มีสระอะ) เพียง 11 แบบเท่านั น เรียกว่า พยัญชนะควบ
               กลํ า หรือ อักษรควบกลํ า อักษรโรมันที กํากับเป นระบบถอดอักษรของราชบัณฑิตยสถาน












               พยัญชนะควบกลํ ามีจํานวนเพิ มขึ นอีกเล็กน้อยจาก คํายืม ภาษาต่างประเทศ อาทิ จันทรา จาก

               ภาษาสันสกฤต มีเสียง ทร /tʰr/, ฟรี จากภาษาอังกฤษ มีเสียง ฟร /fr/ เป นต้น เราสามารถ
               สังเกตได้ว่า กลุ่มพยัญชนะเหล่านี ถูกใช้เป นพยัญชนะต้นเท่านั น

                 ซึ งมีเสียงพยัญชนะตัวที สองเป น ร ล หรือ ว และกลุ่มพยัญชนะจะมีเสียงไม่เกินสองเสียงใน
                               คราวเดียว การผันวรรณยุกต์ของคําขึ นอยู่กับ ไตรยางศ์ ของพยัญชนะตัวแรก














               3.2 สระ
                เสียงสระในภาษาไทยแบ่งออกเป น 3 ชนิดคือ สระเดี ยว สระประสม และสระเกิน สะกดด้วยรูป
                   สระพื นฐานหนึ งตัวหรือหลายตัวร่วมกัน  สระเดี ยว  หรือ  สระแท้  คือสระที เกิดจากฐานเพียง
                   ฐานเดียว มีทั งสิ น 18 เสียง อักษรโรมันที กํากับเป นระบบถอดอักษรของราชบัณฑิตยสถาน
   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14