Page 26 - ASEAN ICT Masterplan 2020
P. 26

17




                    มำตรกำร                                               หลักกำรและเหตุผล                                   กรอบเวลำ     แผนงำน นประเทศที่เกี่ยวข้อง
       ยุทธศำสตร์ที่ 1: พัฒนำโครงสร้ำงพื้นฐำนเพื่อรองรับกำรใช้งำนในประเทศ และเตรียมพร้อมสู่กำรเป็นศูนย์กลำงทำงอินเทอร์เน็ตของประเทศกลุ่ม CLMV (ต่อ)
                                            ข้อเสนอแนะ
                                            รัฐบำลควรมุ่งเน้นกำรเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตกับศูนย์ดิจิทัลชุมชนและโรงเรียนในพื้นที่ห่ำงไกล เพื่อขยำยโอกำสกำร
                                            เข้ำถึงบริกำรของภำครัฐและระบบกำรศึกษำ นอกจำกนี้ ภำครัฐควรเปิดโอกำสให้ภำคเอกชนเข้ำมำมีส่วนร่วมกับกำร
                                            ด ำเนินงำนส่วนนี้ โดยอำจเป็นกำรร่วมทุนระหว่ำงภำครัฐและภำคเอกชน (Public-Private Partnership) ซึ่งกำรพัฒนำ
                                            โครงสร้ำงพื้นฐำนโดยนักลงทุนภำคเอกชนที่มีควำมเชี่ยวชำญอำจจะก่อให้เกิดประสิทธิภำพในกำรลงทุนมำกกว่ำ
                                            และเป็นกำรแบ่งเบำภำระทำงงบประมำณซึ่งอำจน ำไปลงทุนในด้ำนอื่นๆ ได้
       1.5)  ปรับปรุงก หมำยและก ระเบียบ และก ำหนด จำกกำรประมวลข้อมูล BSA Global Cloud Scorecard (2016) พบว่ำ ประเทศไทยยังต้องเตรียมควำมพร้อมทำงด้ำน 2560 – 2561     แผนพัฒนำดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและ
           มำตรกำรส่งเสริมกำรลงทุนในธุรกิจ Cloud  ก หมำย ก ระเบียบเพื่อรองรับกำรเติบโตของธุรกิจกำรให้บริกำรด้ำนกลุ่มเมฆ (Cloud Service) ต่อไปอีก ทั้งในด้ำน  สังคม ยุทธศำสตร์ที่ 1
           Computing                        ควำมเป็นส่วนตัวของข้อมูล (Data Privacy) ควำมปลอดภัย (Security) หรือกำรคุ้มครองทรัพย์สินทำงป ญญำ เป็นต้น
                                            โดยในป จจุบัน ประเทศไทยยังได้รับคะแนนรองจำกประเทศสิงคโปร์ มำเลเซีย และอินโดนีเซีย

                                            แผนพัฒนำดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมมีวิสัยทัศน์ให้ประเทศไทยเป็นศูนย์กลำงทำงกำรแลกเปลี่ยนข้อมูลของ
                                            อำเซียน แต่เมื่อพิจำรณำจำกควำมสำมำรถทำงกำรแข่งขันของประเทศไทยในป จจุบัน กำรมุ่งสู่ควำมเป็นศูนย์กลำง
                                            ทำงดิจิทัลของประเทศสมำชิกอำเซียนทุกประเทศนั้นยังยำกที่จะเกิดขึ้นได้อย่ำงเต็มรูปแบบในอนำคตระยะสั้น
                                            และระยะกลำง ประเทศไทยจึงควรให้ควำมส ำคัญกับกลุ่มประเทศที่ประเทศไทยมีข้อได้เปรียบทำงภูมิศำสตร์ก่อน โดย
                                            ต่อยอดจำกกำรพัฒนำโครงสร้ำงพื้นฐำนทำงอินเทอร์เน็ตเพื่อรองรับกำรใช้งำนในประเทศกลุ่ม CLMV และเตรียมควำม
                                            พร้อมในด้ำนกำรให้บริกำรด้ำนกลุ่มเมฆ (Cloud Service) ทั้งในธุรกิจด้ำนกำรประมวลผลบนกลุ่มเมฆ (Cloud
                                            Computing) หรือกำรเก็บข้อมูลบนกลุ่มเมฆ (Cloud Storage) เพื่อรองรับกำรเติบโตของเศรษฐกิจดิจิทัลในประเทศ
                                            เป้ำหมำย

                                            ข้อเสนอแนะ
                                            ประเทศไทยควรทบทวนข้อก หมำยและก ระเบียบที่เกี่ยวข้องกับกำรลงทุนในธุรกิจกลุ่มเมฆ รวมถึงวำงมำตรกำร
                                            ส่งเสริมกำรลงทุนที่เหมำะสม เพื่อดึงดูดให้มีกำรลงทุนในธุรกิจกำรประมวลผลแบบกลุ่มเมฆและกำรจัดเก็บข้อมูลบน
                                            กลุ่มเมฆ









                                                                                                             ส ำนักงำนปลัดกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม
   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31