Page 34 - ASEAN ICT Masterplan 2020
P. 34

21




                    มำตรกำร                                               หลักกำรและเหตุผล                                   กรอบเวลำ     แผนงำน นประเทศที่เกี่ยวข้อง
       ยุทธศำสตร์ที่ 2: กระตุ้น SMEs ให้ใช้งำนเทคโนโลยีดิจิทัล เพื่อเพิ่มประสิทธิภำพทำงธุรกิจ และสร้ำงระบบนิเวศน์ที่บ่มเพำะ Start-up อย่ำงครบวงจร (ต่อ)
       2.5)  ด ำเนินนโยบำยสนับสนุนธุรกิจ Start-up คน ควำมส ำเร็จของแอพพลิเคชั่น เว็บไซต์ หรือแพลตฟอร์มด้ำนไลฟ์สไตล์ในช่วงหลำยปีที่ผ่ำนมำสร้ำงควำมตื่นตัวให้กับ 2560 – 2561     แผนพัฒนำดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและ
           ไทยอย่ำงครบวงจร                  กระแส Digital Start-up ในประเทศไทยเป็นอย่ำงมำก ผู้ประกอบกำรอำยุน้อย หรือบัณฑิตที่เพิ่งจบกำรศึกษำ ต่ำงหัน  สังคม ยุทธศำสตร์ที่ 2
                                            มำริเริ่มกิจกำรของตัวเอง บริษัทที่ริเริ่มธุรกิจประเภทใหม่ หรือ Start-up เหล่ำนี้มุ่งเน้นที่กำรสร้ำงแอพพลิเคชั่น หรือ
                                            แพลตฟอร์มทำงอินเทอร์เน็ตที่สนองควำมต้องกำรของผู้บริโภคในด้ำนต่ำง

                                            ทั้งนี้ Start-up บำงส่วนยังขำดควำมรู้ควำมเข้ำใจที่เพียงพอเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ของตนเอง ทั้งในเรื่องสภำพ
                                            อุตสำหกรรม สภำวะทำงกำรแข่งขัน และต ำแหน่งทำงกำรตลำด (Position) หรือกล่ำวได้ว่ำ ยังไม่ถือเป็น Disruptive
                                            Business อย่ำงแท้จริง และยังขำดช่องทำงในกำรประชำสัมพันธ์ กำรเข้ำถึงผลิตภัณฑ์ในวงกว้ำง รวมถึงช่องทำงใน
                                            กำรเสำะหำนักลงทุน (Venture Capitalist) ดังนั้น

                                            ข้อเสนอแนะ
                                            รัฐบำลควรให้กำรสนับสนุนอย่ำงต่อเนื่อง โดยเฉพำะในด้ำนกำรส่งเสริมองค์ควำมรู้ กำรสร้ำงช่องทำงกำร
                                            ประชำสัมพันธ์ผลิตภัณฑ์ และกำรเชื่อมโยง Start-up จำกประเทศไทยกับนักลงทุนชำวต่ำงชำติ โดยอำจท ำได้ผ่ำนกำร
                                            จัดอบรม กำรให้ควำมรู้โดยวิทยำกรที่เป็นผู้ประกอบกำรดิจิทัลที่ประสบควำมส ำเร็จ กำรจัดอีเว้นท์เพื่อสร้ำงช่องทำงใน
                                            กำรแสดงผลิตภัณฑ์และโอกำสกำรพบปะกับนักลงทุน
       2.6)  ใช้มำตรกำรสร้ำงแรงจูงใจเพื่อกระตุ้นกำร จำกข้อมูลที่ปรำกฏในรำยงำน Global Information Technology Report 2016 (World Economic Forum, 2016) พบว่ำ 2560 – 2561     แผนพัฒนำดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและ
           ลงทุนเกี่ยวกับเทคโนโลยีในหมู่ผู้ประกอบกำร  กำรใช้งำนเทคโนโลยีในระดับองค์กรภำคเอกชนยังไม่สูงนัก ดังที่สะท้อนอยู่ในดัชนี Firm Level Technology   สังคม ยุทธศำสตร์ที่ 2
           SMEs                             Absorption (ประเทศไทยได้รับคะแนนในด้ำนนี้ที่ 4.9 คะแนน จำก 7 คะแนน สูงกว่ำค่ำเฉลี่ยโลกที่ 4.7 คะแนน แต่เป็น
                                            รองประเทศในอำเซียนสี่ประเทศ ได้แก่ สิงคโปร์ มำเลเซีย ฟิลิปปินส์ และอินโดนีเซีย) นอกจำกนี้ พบว่ำ มีกลุ่ม
                                            ผู้ประกอบกำรกลุ่ม SMEs ส่วนหนึ่งเท่ำนั้นที่ใช้งำนเทคโนโลยีดิจิทัลในกำรประกอบธุรกิจ เนื่องจำกมีเงินทุนค่อนข้ำง
                                            จ ำกัด และยังไม่เห็นถึงประโยชน์จำกกำรใช้งำนมำกนัก ส่วนบริษัทขนำดใหญ่นั้น บำงส่วนมีกำรใช้งำนอยู่แล้ว
                                            โดยเฉพำะกำรใช้งำนซอฟต์แวร์จ ำพวก Enterprise Resource Planning (ERP) หรือซอฟต์แวร์กำรบริหำรจัดกำร
                                            ภำยในองค์กร











                                                                                                             ส ำนักงำนปลัดกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม
   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39