Page 41 - ASEAN ICT Masterplan 2020
P. 41

24




 มำตรกำร   หลักกำรและเหตุผล             กรอบเวลำ      แผนงำน นประเทศที่เกี่ยวข้อง
 ยุทธศำสตร์ที่ 3: สร้ำงสังคมที่ประชำชนทุกภำคส่วนสำมำรถใช้ประโยชน์จำกเทคโนโลยีดิจิทัลได้อย่ำงเต็มที่ (ต่อ)
 3.3)  ส่งเสริมแนวปฏิบัติที่ดีในโลกดิจิทัล และกำรใช้ กำรใช้งำนอินเทอร์เน็ต โดยเฉพำะอย่ำงยิ่ง Social Media ที่เพิ่มขึ้นอย่ำงรวดเร็วในไทยเป็นทั้งโอกำสและควำมท้ำทำย 2560     แผนพัฒนำดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและ
 อินเทอร์เน็ตอย่ำงมีวิจำรณญำณ   ต่อกำรด ำเนินนโยบำยของรัฐบำล ในมิติหนึ่ง กำรใช้งำนอินเทอร์เน็ตที่เพิ่มสูงขึ้นสะท้อนถึงโอกำสในกำรใช้ประโยชน์  สังคม ยุทธศำสตร์ที่ 3
 จำกเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อเพิ่มผลผลิตทำงเศรษฐกิจ และเป็นส่วนส ำคัญต่อกำรก้ำวผ่ำนสู่ระบบเศรษฐกิจดิจิทัล แต่ในอีก
 มิติหนึ่ง ภัยทำงอินเทอร์เน็ตที่ทวีควำมรุนแรงยิ่งขึ้น สื่อต่ำงๆ ที่ไม่เหมำะสม หรือหลอกลวงผู้บริโภค ก็เป็นควำมท้ำ
 ทำยส ำคัญที่หน่วยงำนภำครัฐต้องเข้ำมำสอดส่องดูแล

 ข้อเสนอแนะ
 ภำครัฐควรส่งเสริมกำรใช้งำนอย่ำงมีวิจำรณญำณในอินเทอร์เน็ต เพื่อให้ประชำชนสำมำรถใช้งำนเทคโนโลยีได้โดยมี
 ควำมรับผิดชอบต่อสังคม และจัดท ำกลไกเพื่อเ ้ำระวังข้อมูลทำงอินเทอร์เน็ตที่เป็นอันตรำยต่อสังคม เช่น กำรใช้ยำ
 เสพติด สื่อลำมกอนำจำรเด็ก เป็นต้น
 3.4)  ศึกษำควำมเป็นไปได้ของกำรพัฒนำเมือง เมืองอัจฉริยะ (Smart City) เป็นแนวคิดในกำรประยุกต์เทคโนโลยีดิจิทัล และเทคโนโลยีสำรสนเทศและกำรสื่อสำร เพื่อ 2560 – 2063
 อัจฉริยะ (Smart City) ในเมืองต่ำงๆ ของ เพิ่มประสิทธิภำพกำรให้บริกำรชุมชนและเมือง ยกระดับคุณภำพชีวิตของประชำกร และลดต้นทุนกำรให้บริกำร และต่อเนื่องไป
 ประเทศไทย และจัดเตรียมโครงสร้ำงพื้นฐำน สำธำรณะที่ภำครัฐเป็นผู้แบกรับ
 เพื่อรองรับกำรเติบโตในอนำคต
 ในปี 2559 กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม และส ำนักงำนส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล (องค์กำรมหำชน) (DEPA)
 ได้ศึกษำข้อมูลพื้นฐำนและวำงแผนกำรพัฒนำระบบนิเวศทำงธุรกิจ เพื่อวำงรำกฐำนของกำรพัฒนำ Smart City ใน
 จังหวัดภูเก็ต ซึ่งจะด ำเนินกำรเสร็จสิ้นในเดือนมกรำคม 2560 โดยได้มีกำรเสนอแนะแนวทำงกำรปรับปรุงก หมำยและ
 ก ระเบียบ กำรให้สิทธิประโยชน์ทำงกำรลงทุน และป จจัยที่เป็นข้อจ ำกัดต่อกำรพัฒนำ Smart City อันจะเป็นกำร
 ขับเคลื่อนกำรพัฒนำ Smart City ในจังหวัดภูเก็ต ให้เป็นเมืองต้นแบบของประเทศไทยในกำรพัฒนำ Smart City ให้กับ
 เมืองอื่นๆ ของประเทศไทยในอนำคต

 ข้อเสนอแนะ
 ประเทศไทยควรด ำเนินกำรเช่นนี้กับเมืองอื่นๆ ของประเทศไทย เช่น เชียงใหม่ หรือขอนแก่น โดยให้มีกำรศึกษำแนว
 ทำงกำรพัฒนำ Smart City ที่เหมำะสมของแต่ละพื้นที่ ระบุโครงสร้ำงพื้นฐำนที่ยังควรได้รับกำรพัฒนำเพิ่มเติม และ
 สร้ำงช่องทำงที่หน่วยงำนภำคเอกชนจะมีส่วนร่วมกับกำรพัฒนำได้ รวมถึงให้มีกำรจัดท ำดัชนี Smart City เพื่อชี้น ำทิศ
 ทำงกำรเติบโตที่เหมำะสม






                         ส ำนักงำนปลัดกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม
   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46