Page 134 - Full paper สอฉ.3-62
P. 134
nd
การประชุมวิชาการระดับชาติ สอฉ 3 วิจัยและนวัตกรรม ครั้งที่ 2 The 2 Institute of Vocational Education : Northeastern Region 3
Research and Innovation Conference
วันที่ 6 กันยายน 2562 จ. มหาสารคาม 6 September 2019 ,Mahasarakham , THAILAND
เครื่องให้อาหารไก่อัตโนมัติรายงานผลตามเวลาจริงผ่านแอพพลิเคชั่นบลิงค์ส าหรับฟาร์มไก่แบบแม่นย า
Automatic Chicken Feeders Report Real-time Results Through the Blynk Application
for Precise Chicken Farms
1,*
2
ธาตรี สุภาระโยธิน อภินันท์ ก้อนมณี และสุขกง วอร์ 3
1,2,3 ภาควิชาเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์ คณะวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม วิทยาลัยเทคนิคขอนแก่น สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 3
บทคัดย่อ errors were found and the virtualization test can work
บทความวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อน าเสนอการประยุกต์ใช้ according to the specified conditions.
เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง (Internet of Things: IoT) Keywords : Automatic Chicken Feeders, Real-time, Blynk
ในภาคเกษตรกรรมด้วยเครื่องให้อาหารไก่อัตโนมัติ ที่ควบคุม Application, Internet of Things: IoT, Microcontroller
การท างานด้วยไมโครคอนโทรลเลอร์บอร์ด NodeMCU ESP-
8266 รายงานผลตามเวลาจริงผ่าน Blynk Application ส าหรับ 1. บทน า
น าไปใช้งานเป็นเครื่องต้นแบบในฟาร์มไก่แบบแม่นย าของ จากนโยบายไทยแลนด์ 4.0 ซึ่งเป็นวิสัยทัศน์เชิงนโยบายการ
เกษตรกรรายย่อย ผลการทดสอบ พบว่า เครื่องให้อาหารไก่ พัฒนาเศรษฐกิจของประเทศไทยที่ว่า “มั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน”
อัตโนมัติ สามารถจ่ายอาหารให้ไก่ได้ไม่น้อยกว่าค่าน ้าหนักที่ ที่มีภารกิจส าคัญในการขับเคลื่อนปฏิรูปประเทศด้านต่างๆ เพื่อ
ก าหนด มีค่าความผิดพลาดไม่เกิน ±6.36 เปอร์เซ็นต์ การ ปรับแก้จัดระบบปรับทิศทางและสร้างหนทางพัฒนาประเทศให้
ท างานตามโปรแกรมเวลาไม่พบความผิดพลาด และการ เจริญ สามารถรับมือกับโอกาสและภัยคุกคามแบบใหม่ๆ ที่
ทดสอบใช้งานเสมือนจริงสามารถท างานได้ตรงตามเงื่อนไขที่ เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและรุนแรงในศตวรรษที่ 21 ด้วยการ
ก าหนด ปรับเปลี่ยนโครงสร้างเศรษฐกิจไปสู่ “Value–Based Economy”
ค าส าคัญ : เครื่องให้อาหารไก่, เวลาจริง, แอพพลิเคชั่นบลิงค์, หรือ “เศรษฐกิจที่ขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรม” โดยมีฐานคิดหลัก
อินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง, ไมโครคอนโทรลเลอร์ คือ เปลี่ยนจากการผลิตสินค้า “โภคภัณฑ์” ไปสู่สินค้าเชิง
“นวัตกรรม” เปลี่ยนจากการขับเคลื่อนประเทศด้วย
Abstract
ภาคอุตสาหกรรม ไปสู่การขับเคลื่อนด้วยเทคโนโลยี ความคิด
This research article aims to present the results of applying สร้างสรรค์ และนวัตกรรม โดยเฉพาะกับการปรับเปลี่ยนจาก
the Internet of Things (IoT) technology in the agricultural การเกษตรแบบดั้งเดิมไปสู่การเกษตรสมัยใหม่ ที่เน้นการ
sector with automatic chicken feeding machines. That is บริหารจัดการและเทคโนโลยี (Smart Farming) ที่ให้ความส าคัญ
controlled by a NodeMCU ESP-8266 report real-time results ไปที่การใช้เครื่องมือ อุปกรณ์อัจฉริยะ หุ่นยนต์ และระบบ
through Blynk Application. For use as a prototype in the เครื่องกลที่ใช้ระบบอิเล็กทรอนิกส์ควบคุมเพื่อให้เกิดการเพิ่ม
precise chicken farm of small farmers. The test results showed ผลผลิตและลดต้นทุนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
that automatic chicken feeders able to supply food to chickens ปัญหาที่ส าคัญของการท าการเกษตรแบบดั้งเดิมในปัจจุบัน
not less than the specified weight value, an error of no more คือ การขาดแคลนแรงงานในภาคการเกษตร ผลผลิตทาง
than ± 6.36 percent, working according to the time program no การเกษตรมีคุณภาพและปริมาณต่อหน่วยการผลิตต ่า ไม่
* ผู้เขียนผู้รับผิดชอบบทความ (Corresponding author)
E-mail address: thatree@kktech.ac.th
1
116