Page 90 - Full paper สอฉ.3-62
P. 90
2.2 บอร์ด (NodeMCU - ESP8266 ) ทำงานเป็นเพาเวอร์คอนเวอร์เตอร์โดยการตัดต่อแรงดัน
2.3 การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น เป็นช่วงๆ ที่ความถี่ประมาณ 20-200 KHz จากนั้นจะ
(program Arduino IDE) ผ่านไปยังหม้อแปลงสวิตชิ่งเพื่อลดแรงดันลง เอาต์พุต
2.4 แอ็ป (App blynk control) ของหม้อแปลงจะต่อกับวงจรเรียงกระแส และกรอง
2.5 อุปกรณ์ที่ใช้ หลอดฟลูออเรสเซนต์ แรงดันให้เรียบ การคงค่าแรงดันจะทำได้โดยการ
ป้อนกลับคาแรงดันที่เอาต์พุตกลับมายังวงจรควบคุม
2.1 สวิตชิ่งเพาเวอร์ซัพพลาย (Switching Power
Supply) ภาพที่ 2.1 Switching Power Supply
สวิตชิ่งเพาเวอร์ซัพพลาย หรืออาจเรียกกันในชื่อ
ของ Switch Mode Power Supplies (SMPS) คือเป็น 2.2 บอรด์ (NodeMCU - ESP8266
อุปกรณ์ที่จ่ายพลังงานไฟฟ้าให้กับอุปกรณ์ไฟฟ้าต่างๆ ความหมาย และความเป็นมาของ NodeMCU -
โดยจะทำหน้าที่แปลงแรงดันไฟฟ้ากระแสสลับ (AC) ให้ ESP8266 NodeMCU (โหนด เอ็มซียู) คือ บอร์ด
เป็นแรงดันไฟฟ้ากระแสตรง (DC) เนื่องจากอุปกรณ์ คล้าย Arduino ที่สามารถเชื่อมต่อกับ WiFi ได้ สามารถ
ไฟฟ้าต่างๆ ที่ใช้ ต้องการแรงดันไฟฟ้ากระแสตรง เขียนโปรแกรมด้วย Arduino IDE และเป็นแพลตฟอร์ม
เพื่อให้ฟังก์ชันในอุปกรณ์ทำงานได้ ในการสร้างโปรเจค (Internet of Things) ที่ประกอบ
2.1.1 สวิตชิ่งจะประกอบด้วย 3 ส่วนใหญ่ๆ ได้แก่ ไปด้วย Development Kit (ตัวบอร์ด) และ Firmware
2.1.1.1 วงจรฟิลเตอร์และเรกติไฟเออร์ ทำ (Softwareบนบอร์ด) ที่เป็น (open source)
หน้าที่แปลงแรงดันไฟสลับเป็นไฟตรง
2.1.1.2 คอนเวอร์เตอร์ ทำหน้าที่แปลงไฟตรง
เป็นไฟสลับความถี่สูงและแปลงกลับเป็นไฟตรงโวลต์ต่ำ
2.1.1.3 วงจรการควบคุม ทำหน้าที่ควบคุม
การทำงานของคอนเวอร์เตอร์ เพื่อให้ได้แรงดันเอาต์พุต
ตามต้องการ
แรงดันไฟสลับค่าสูงจะผ่านเข้ามาทางวงจร RFI
ฟิลเตอร์ เพื่อกรองสัญญาณรบกวนและแปลงเป็นไฟตรง
ภาพที่ 2.2 บอร์ด ESP8266 Node MCU V3
2.3 การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น
ค่าสูงด้วยวงจรเรกติไฟเออร์ เพาเวอร์ทรานซิสเตอร์จะ ภาพที่ 2.3 ตัวอย่างโปรแกรม Arduino
72