Page 97 - Full paper สอฉ.3-62
P. 97

6. ความเหมาะสมและขนาดในการใช้งานอุปกรณ์  [1] กิติศักดิ์ พลอยพานิชเจริญ. การวิเคราะห์ความสามารถของ
             จับยึด Insert อยู่ในระดับ ดี ที่   X  เท่ากับ 4.29 และ S.D.   กระบวนการ, 2550.
                                      ̅
             เท่ากับ 0.49 และเมื่อพิจารณาเป็นรายข้อจากแบบประเมิน  [2] เกษม  พิพัฒน์ปัญญานุกูล. การศึกษางาน. พิมพ์ครั้งที่2.กรุงเทพฯ :
                                                               สำนักพิมพ์ประกอบเมไตร, 2535.
             ส่วนใหญ่มีคุณภาพในระดับ ดี                        [3] มาโนช ริทินโย. การศึกษางาน (Work Study). มหาวิทยาลัย
                        7. สามารถมองเห็นระบบการทำงานของอุปกรณ์จับ  เทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาวิทยาเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
             ยึด Insert อยู่ในระดับ ดี ที่     เท่ากับ 4.14 และ S.D. เท่ากับ   นครราชสีมา, 2551.
             0.69 และเมื่อพิจารณาเป็นรายข้อจากแบบประเมินส่วนใหญ่มี  [4] วันชัย ริจิรวนิช. การศึกษาการทำงาน หลักการกรณีศึกษา. พิมพ์ครั้ง
             คุณภาพในระดับ ดี                                  ที่ 4. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548.
                    8. สอดคล้องต่อวัตถุประสงค์อยู่ในระดับ ดี ที่ X
                                                        ̅
             เท่ากับ 4.71 และ S.D. เท่ากับ 0.49 และเมื่อพิจารณาเป็น
             รายข้อจากแบบประเมินส่วนใหญ่มีคุณภาพในระดับ ดีมาก
                    จากการทดลองและผลการประเมินจากผู้เชี่ยวชาญ
             ในการวิจัยเรื่อง การออกแบบและสร้างอุปกรณ์จับยึด Insert
             บนเครื่อง Wire cutting machine เฉลี่ยรวมด้านการนำไปใช้
             งานและองค์ประกอบโดยรวมอยู่ในระดับ ดี ที่     ̅เท่ากับ
             4.425 และ S.D. เท่ากับ 0.535 เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า
             ส่วนใหญ่มีคุณภาพอยู่ในระดับ ดี

             สรุปผล
                        จากการดำเนินการวิจัยเรื่อง การออกแบบและสร้าง
             อุปกรณ์จับยึด Insert ผู้วิจัยพบว่าอุปกรณ์จับยึด Insert ใช้
             งานได้จริงจากผลการนำอุปกรณ์จับยึด Insert ที่ได้ออกแบบ
             และสร้างขึ้น สามารถทำให้การปรับ Insert เป็นไปได้ง่ายขึ้น
             สะดวกต่อการใช้งาน มีความมั่นคงแข็งแรงและความเที่ยงตรง
             ตามมาตรฐาน ปลอดภัยต่อผู้ใช้ และลดเวลาในการปรับตั้ง
             Insert อีกด้วย เคลื่อนย้ายไปมาสะดวก การปรับระดับงานได้
             ตามค่ามาตรฐาน

             ข้อเสนอแนะ
                       จากการดำเนินการวิจัยเรื่องอุปกรณ์จับยึด Insert
             ครั้งนี้ มีข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนาต่อไปดังนี้
                       1. เพิ่มที่จับยึดชิ้นงานให้มีความหลากหลายของ
             รูปแบบ Insert ให้มากขึ้น
                       2. ควรจะเปลี่ยนสลับแผ่นจับยึดชิ้นงานได้









             เอกสารอ้างอิง





                                                              4
                                                                                                                79
   92   93   94   95   96   97   98   99   100   101   102