Page 59 - 05_การปฐมพยาบาล_Neat
P. 59

๕๐




                               õ) ÍØŒÁ·ÒºËÅѧ (Pack-strap carry) ทาอุมทาบหลังนี้นํ้าหนักของผูบาดเจ็บ
              เกือบทั้งหมดจะมาอยูที่บริเวณหลังของผูชวยเหลือ เหมาะสําหรับการเคลื่อนยายผูบาดเจ็บ

              ในระยะทางปานกลาง (๕๐ – ๓๐๐ เมตร) แตก็มีขอจํากัดในผูบาดเจ็บที่มีการบาดเจ็บบริเวณแขน
              เพราะทานี้ ผูชวยเหลือจะตองจับแขนของผูบาดเจ็บไวตลอด  และหามใชทานี้กับผูบาดเจ็บที่สงสัย

              วามีกระดูกแขน ขา กระดูกสันหลัง หรือกระดูกเชิงกรานหัก
                                    ¢Ñé¹μ͹¡Òû¯ÔºÑμÔ

                                    ๕.๑)  ผูชวยเหลือยกผูบาดเจ็บจากพื้นใหอยูในทายืน แลวใชแขนพยุงตัว
              ผูบาดเจ็บใหอยูดานขางตัวผูชวยเหลือ จากนั้นยกแขนทั้งสองขางของผูบาดเจ็บใหอยูเหนือศีรษะ

              และใหแขนพาดลงบนบาของผูชวยเหลือ
                                    ๕.๒)  ผูชวยเหลือเลื่อนตัวมาที่ดานหนาของผูบาดเจ็บ ในเวลาเดียวกัน

              พยุงตัวผูบาดเจ็บไวโดยใหนํ้าหนักตัวของผูบาดเจ็บอยูบริเวณหลังของผูชวยเหลือ จากนั้นผูชวยเหลือ
              จับขอมือของผูบาดเจ็บโดยใหแขนทั้งสองขางของผูบาดเจ็บอยูในตําแหนงที่พาดบาของผูชวยเหลือ

                                    ๕.๓)  ผูชวยเหลือกมตัวไปดานหนา พรอมกับยกผูบาดเจ็บใหสูงขึ้นมา

              โดยใหนํ้าหนักตัวของผูบาดเจ็บมาพักอยูที่บริเวณหลังของผูชวยเหลือ













                                                      1                                            2






















                                              3                                             4


                                       ÀÒ¾áÊ´§¡ÒÃà¤Å×è͹ŒÒ¼ٌºÒ´à¨çº´ŒÇ·‹ÒÍØŒÁ·ÒºËÅѧ
                                               ที่มา : สํานักงานตํารวจแหงชาติ
   54   55   56   57   58   59   60   61   62   63   64