Page 15 - วารสาร 10 oct 61 21.00 flip pdf
P. 15

นายกสมาคมและกรรมการบริหาร ตลอดจนสมาชิกในแต่ละยุคสมัยตลอด ระยะเวลา 40 ปี ได้มีการทุ่มเทกําาลัง กาย เสียสละเพ่ือพัฒนาสมาคมโรงเรียน อาชีวศึกษาแห่งประเทศไทยให้เป็นศูนย์ รวมของโรงเรียนอาชีวศึกษาเอกชนท่ัว ประเทศ ในการแลกเปลี่ยนข้อคิดเห็นเพ่ือ พัฒนาคุณภาพในการจัดการศึกษา ตลอด จนประสานงานความร่วมมือกับกระทรวง ศึกษาธิการ หน่วยงานภาครัฐ และองค์กร ต่าง ๆ ในการพัฒนาศักยภาพในการ จัดการศึกษา ส่งผลสู่การยกระดับคุณภาพ บุคลากรวิชาชีพของประเทศ
นั้น และชาวการศึกษาเอกชนทั้งมวลได้ร่วม กันผลักดันให้มีการแก้ไข พระราชบัญญัติ โรงเรียนเอกชนฉบับเดิม จนเป็นผลสําาเร็จ ในปี พ.ศ. 2554 โดยข้อสรุปคือในส่วนของ โรงเรียนอาชีวศึกษาเอกชน ให้โรงเรียน อาชีวศึกษาเอกชน สามารถใช้คําานําาหน้า เป็น “วิทยาลัยอาชีวศึกษาหรือวิทยาลัย เทคโนโลยี” ได้ตามพระราชบัญญัติโรงเรียน เอกชน (ฉบับแก้ไข) พ.ศ. 2554 รัฐมนตรี ว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ท่ีปฏิบัติหน้าท่ี ในขณะนั้นคือ นายชินวรณ์ บุณยเกียรติ และนายชัย ชิดชอบ เป็นประธานสภาผู้ แทนราษฎรและประธานรัฐสภา และประธาน วุฒิสภา โดย นายนิคม ไวรัชพานิช พระบาท สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงลงพระปรมาภิไธย ในระยะต่อมาและได้ประกาศในราชกิจรา นุเบกษาและบังคับใช้จนปัจจุบัน
การจัดระบบโครงสร้างการบริหาร สมาคมฯ ให้ครอบคลุ่มทั่วประเทศ สมาคม ได้จัดการบริหารเป็นกลุ่มภูมิภาค 4 กลุ่มภูมิภาคและกลุ่มกรุงเทพมหานคร นอกจากน้ันยังมีอาชีวศึกษาเอกชนจังหวัด เป็นศูนย์กลางของสถานศึกษาประเภท อาชีวศึกษาภายในจังหวัดต่าง ๆ โดยใน ปัจจุบันมีสมาชิกเป็นสถานศึกษารวมท้ังส้ิน 394 แห่ง
ในปี พ.ศ. 2559 คณะกรรมการสมา คมฯ โดย ดร.วีรวัฒน์ วรรณศิริ นายกสมาคม โรงเรียนอาชีวศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย จึงได้มีมติให้เปลี่ยนช่ือสมาคมฯ เป็น สมาคมวิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวศึกษา เอกชนแห่งประเทศไทย (ส.ว.ท.อ.) เพ่ือ สืบทอดเจตนารมณ์ของสมาคมฯและพัฒนา ศักยภาพของอาชีวศึกษาเอกชน รองรับการ เป็นประชาคมอาเซียน (AEC) ในวันท่ี 31 ธันวาคม 2558 ต่อไป
1. กลุ่มกรุงเทพมหานคร 78 แห่ง
2. กลุ่มภาคกลาง
3. กลุ่มภาคใต้
4. กลุ่มภาคเหนือ
5. กลุ่มภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
สืบเนื่องจากการขับเคลื่อนของ
สมาคมฯ ที่มุ่งเน้นส่งเสริมสถานศึกษาให้
103 แห่ง 49 แห่ง 52 แห่ง
113 แห่ง
สามารถดําาเนินการจัดการสถานศึกษาของ
แต่ละสถานศึกษาได้อย่างมีประสิทธภาพ
มีการพัฒนาศักยภาพของสถานศึกษา
และเตรียมการรองรับประชาคมอาเซียน
(ASEAN ECONOMIC COMMUNITY) ใน
ปี พ.ศ. 2552 - 2554 กระทรวงศึกษาธิการ
ภายใต้การนําาของรัฐมนตรีจุลินทร์ ลักษณะ
วิศิษย์ เป็นรัฐมนตรีว่าการร่วมกับปลัด
กระทรวงศึกษาธิการ และผู้อําานวยการ
สําานักบริหารงานคณะกรรมการส่งเสริม
การศึกษาเอกชน นายชาญวิทย์ ทับ
สุพรรLoณremรi่วpsมumกับdoสlorภาศึกษาเอกชน โดยดร.จี sit amet, congues.
ระพันธ์ พิมพ์พันธ์ ดร.วีรวัฒน์ วรรณศิริ นายกสมาคมโรงเรียนอาชีวศึกษาเอกชน แห่งประเทศไทยในขณะ
Universal Magazine www.Magazine.com


































































































   13   14   15   16   17