Page 5 - การจัดการการตลาด การผลิต อช31001
P. 5

การใชส านวน สุภาษิต ค าพังเพย

              ประเภทของถอยค าส านวน
              1. ถอยค าส านวน เปนส านวนค าที่เกดจากการผสมค าแลวเกิดเปนค าใหม เชน ค าผสม ค าซอน หรือค าที่เกิดจากการ
                                            ิ
                                                                                                      ุ
       ผสมค าหลายค า ผสมกันเปนลักษณะสัมผัส คลองจอง มีความหมาย ไมแปลตรงตามรูปศัพท แตมีความหมายในเชิงอปไมย
       เชนงามหนา หมายถึง นาขายหนา งูกินหาง หมายถึง เกี่ยวโยงกันเปนทอด ๆ
              2. ค าพังเพย หมายถึง ถอยค าที่กลาวขึ้นมาลอย ๆ เปนกลาง ๆ มีความหมายเปนคติสอนใจ สามารถน าไปตีความแล

       วน าไปใชพูด หรือเขียนใหเหมาะสมกับเรื่องที่เราตองการสื่อสารความหมายได มีลักษณะคลายคลึงกับสุภาษิตมาก อาจเป
       นค ากลาว ติชม หรือแสดงความคิดเห็น เชน ร าไมดีโทษปโทษกลอง หมายถึง คนที่ท าอะไรผิดแลวมักกลาวโทษสิ่งอื่น ขี่ชาง

       จับตั๊กแตน หมายถึง การลงทุนมากเพื่อท างานที่ไดผลเล็กนอย

              3. อุปมาอุปไมย หมายถึง ถอยค าที่เปนส านวนพวกหนึ่ง กลาวท านองเปรียบเทียบใหเห็นจริง เขาใจแจมแจงชัดเจน
       และสละสลวยนาฟงมากขึ้น การพูดหรือการเขียนนิยมหาค าอุปมาอุปไมยมาเติม ใหไดความชัดเจนเกิดภาพพจน เขาใจงาย

       เชน คนดุ หากตองการใหความหมายชัดเจน นาฟง และเกิด ภาพพจนชัดเจนก็ตองอุปมาอุปไมยวา “ดุ เหมือน เสือ” ขรุขระ
       การสื่อความยังไมชัดเจน ไมเห็นภาพ ตองอุปมาอุปไมยวา “ขรุขระเหมือนผิวมะกรูด”หรือ “ขรุขระเหมือนผิวพระจันทร” ก็

       จะท าใหเขาใจ ความหมายในรูปธรรมชัดเจนมากยิ่งขึ้น


              ค าราชาศัพท์ หมายความว่า ศัพท์หลวง ศัพท์ราชการ และหมายรวมถึงค าสุภาพซึ่งน ามาใช้ให้ถูกต้องตามชั้นหรือ

       ฐานะของบุคคล บุคคลผู้ที่พูดต้องใช้ราชาศัพท์ด้วย

              จ าแนกเป็น 5 ประเภท คือ
              1. พระมหากษัตริย์

              2. พระบรมวงศานุวงศ์

              3. พระสงฆ์
              4. ข้าราชการชั้นสูงหรือขุนนาง

              5. สุภาพชนทั่วไป
              ค าราชาศัพท์แบ่งได้  6 หมวด คือ

              1. หมวดร่างกาย

              2. หมวดเครือญาติ
              3. หมวดเครื่องใช้

              4. หมวดกริยา
              5. หมวดสรรพนาม

              6. หมวดค าที่ใช้กับพระสงฆ์
   1   2   3   4   5   6   7   8