Page 85 - Prawet
P. 85

89







                       เรื่องที่ 1 บานเจียระไนพลอย
                       กกกกกกก1.    ประวัติของบานเจียระไนพลอยเมื่อประมาณปพุทธศักราช  2520  ในชุมชนริมคลอง
                       ประเวศฝงเหนือ (ชุมชนทางควาย) ประชากรสวนใหญประกอบอาชีพรับเจียระไนเพชร,พลอย ใหกับ

                       พอคาชาวตางชาติ ไมวาจะเปนชาวยุโรป อเมริกา ซึ่งครูสุรเดชหวังเจริญก็เปนอีกผูหนึ่งที่ประกอบ
                       อาชีพดังกลาว ตอมาไดมีบริษัท และการจัดตั้งนิคมอุตสาหกรรมดานการสงออกเพชร พลอย เกิดขึ้น
                       ทําใหชาวบานตางก็เขาไป ทํางานกับบริษัทตาง ๆ เหลานั้นจนหมด ทําใหในชุมชนทางควาย ไมมีใคร
                       ประกอบอาชีพดานเจียระไนพลอยอีกตอไป

                       กกกกกกก1.  ครูสุรเดชหวังเจริญ ไดมองเห็นวาหากประชาชนในชุมชนตางละทิ้งอาชีพ และภูมิ
                       ปญญาดั้งเดิมของตนเองหมดแลวตอไปในภายภาคหนา  คงจะไมมีภูมิปญญาเหลานี้ไวใหลูกหลาน
                       และคนรุนตอไปไดศึกษาเรียนรูอยางแนนอน  ดังนั้น ครูสุรเดชหวังเจริญจึงไมไปสมัครเปนพนักงาน

                       ของบริษัทตามเพื่อนบานแตกลับมาพัฒนาศูนยเจียระไนพลอย  วิเคราะหอัญมณีประดิษฐคิดคน
                       พัฒนางานเจียระไนพลอยประดิษฐประยุกตเครื่องมือดานงานเจียระไนพลอยจนเปนที่ยอมรับของ

                       สังคมพรอมกันนั้นก็ไดจัดสอนและอบรมการวิเคราะหพลอย การเจียระไนพลอย การประเมินและตี
                       ราคาพลอย ใหกับผูที่สนใจ ดวยความเชี่ยวชาญดานงานเจียระไนพลอยจนถึงปจจุบัน จากผลงานที่มี

                       คุณคาจนเปนที่ตองการของตลาดภายในประเทศและระดับสากลนําองคความรูถายทอดใหประชาชน
                       สามารถนําไปประกอบอาชีพไดเปนอยางดีการที่
                       กกกกกกก1.    ครูสุรเดชหวังเจริญเปนบุคคลผูทรงภูมิปญญาดานอุตสาหกรรมและหัตถกรรม

                       (เจียระไนพลอย) เปนผูสรางสรรคและสืบสานภูมิปญญาดังกลาวมาอยางตอเนื่องจนเปนที่ยอมรับของ
                       สังคมและชุมชนจึงไดรับการยกยองเชิดชูเกียรติจากสํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา
                       กระทรวงศึกษาธิการใหเปนครูภูมิปญญาไทยเพื่อทําหนาที่ถายทอดภูมิปญญาในการจัดการศึกษาทั้ง
                       การศึกษาในระบบ และการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยตามนัยพระราชบัญญัติ
                       การศึกษาแหงชาติพุทธศักราช 2542 และที่แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่2) พุทธศักราช2545

                       กกกกกกก1.  กลาวโดยสรุปชมรมบานเจียระไนพลอยของชุมชนริมคลองประเวศฝงเหนือเปนชมรมที่
                       เชี่ยวชาญทางดานการเจียระไนพลอยโดยเฉพาะการวิเคราะหพลอยใหกับตางชาติที่นํากอนพลอยมา
                       จําหนายในเมืองไทยการหุงพลอยประยุกตกับการใชเครื่องมือนอกจากนั้นแลวชมรมบานเจียระไน

                       พลอยยังเปดสอนวิธีการเจียระไนพลอยใหกับผูที่สนใจอีกดวยโดยเริ่มตั้งแตการดูพลอยการวิเคราะห
                       พลอยการเจียระไนพลอยรวมไปถึงการประเมินและตีราคาพลอยเพื่อใหผูเรียนไดสามารถนําไปใช
                       ประโยชนหรือนําไปพัฒนาไปเปนอาชีพได
                       กกกกกกก2.ที่ตั้ง แผนที่ และการเดินทางของบานเจียระไนพลอย

                       กกกกกกก1.  ชมรมบานเจียระไนพลอย ตั้งอยู เลขที่ 351 หมู 1 ซอยออนนุช 59 ถนนออนนุช แขวง
                       ประเวศ เขตประเวศ กรุงเทพมหานคร  ชมรมบานเจียระไนพลอยจดทะเบียนเปนวิสาหกิจชุมชนใน
                       ราว พ.ศ. 2545โดยมีครูสุรเดช หวังเจริญ และครูประสิทธิ์ นุชจําลอง บุคคลสําคัญซึ่งเปนผูถายทอด
                       ความรูดานการเจียระไนพลอยจากประสบการณที่สั่งสมมากวา 40 ป ทั้งในดานทฤษฎีและการปฏิบัติ

                       ตั้งแตทักษะการวิเคราะหพลอยเบื้องตนการเจียระไนพลอย การประเมินคุณภาพและราคาพลอย
                       ตลอดจนสงเสริมการทําธุรกิจคาพลอย
   80   81   82   83   84   85   86   87   88   89   90