Page 44 - Prawet
P. 44

48







                       บุคคลในดานความรู ความเขาใจ ทัศนคติ สติปญญาและความสามารถดานตาง ๆ แลวอีกบทบาท
                       หนึ่งคือการ พัฒนาสังคม


                       3.1.3มัสยิดเปนสถานที่ประนอมและตัดสินขอพิพาท ปญหาครอบครัว
                       ปญหาการหยาราง และปญหามรดกนั้น อิสลามมีหลักการที่ชัดเจนอยูแลว หากคณะกรรมการมัสยิด
                       จะมีบทบาทในการไกลเกลี่ยประนีประนอมขอพิพาทโดยการพิจารณาใหขอแนะนําดวยความยุติธรรม
                       ตามหลักการของอิสลามแลว และคูกรณีมีความเคารพนับถืออิหมาม คอเต็บหรือคณะกรรมการมัสยิด

                       และยินยอมใหมีการประนอม ความสงบสุข ความสามัคคีก็จะมีอยูในสังคมมุสลิม

                       3.1.4มัสยิดเปนศูนยกลางประชาคม มัสยิดมิใชเพียงสถานที่สําหรับทําละหมาด แตเปนศูนยรวมความ

                       ศรัทธาของมุสลิมในชุมชน ทั้งในดานการปฏิบัติศาสนกิจ และกิจกรรมทางสังคม
                       กลาวโดยสรุป มัสยิดเปนเหมือนที่พํานักของพระเจาในศาสนาอิสลาม จึงมีความสําคัญแนบแนนกับวิถี

                       ศรัทธาอันเครงครัดของศาสนาอิสลาม จึงกลาวไดวา เกือบทุกกิจกรรมของชีวิตลวนตองเกี่ยวของ
                       ผูกพันกับมัสยิดทั้งสิ้น



                       3.2  พิธีกรรมในแตละมัสยิด
                       โดยปกติทั่วไปมุสลิมไมวาจะเปนนิกายหรือชนชาติใดๆก็จะยึดถือในหลักคําสอนของคัมภีรอัลกุรอาน
                       และในบันทึกอัลฮะดีษเพื่อเปนแนวทางในการปฏิบัติศาสนกิจตามหลักศาสนาอิสลามที่เกี่ยวของกับ
                       มัสยิดซึ่งรวมถึงการสรางสถาปตยกรรมอิสลามหรือที่เรียกวา  “มัสยิด”  อยางไรก็ตามในคัมภีรและ

                       บันทึกนั้นไมไดมีการระบุกฎเกณฑที่ตายตัวเกี่ยวกับการออกแบบตกแตงทั้งภายในและภายนอกมัสยิด
                       ไวเพราะฉะนั้นการวางผังและการจัดองคประกอบตางๆภายในพื้นที่มัสยิดจึงเกิดจากความจําเปน
                       ทางดานการใชสอยและความเรียบรอยสวยงามโดยมีมัสยิดของทานศาสดาเปนตนแบบโดยรูปแบบ
                       ของมัสยิดนั้นไดมีการพัฒนาใหสอดคลองกับบริบทโดยรอบของสถานที่และยุคสมัยจนเกิดเปนรูปแบบ

                       สถาปตยกรรมที่มีเอกลักษณเฉพาะในแตละแหงโดยทั่วไปแลวสถาปตยกรรมอิสลาม“มัสยิด” ในไทยก็
                       จะมีลักษณะรูปแบบที่มีความแตกตางกันจากมัสยิดในประเทศมุสลิมทางดานตะวันออกแตยังคงไวถึง
                       ลักษณะการใชประโยชนการใชงานและรูปแบบการออกแบบทางกายภาพที่มีความคลายคลึงกันโดย

                       สถาปตยกรรมมัสยิดในไทยมีองคประกอบที่สําคัญดังตอไปนี้

                                     3.2.1  องคประกอบภายในมัสยิดที่เกี่ยวของกับการปฏิบัติศาสนกิจตามหลักศาสนา
                       อิสลาม


                       1)  โถงละหมาด
                                     โถงละหมาดนั้นเปนสวนประกอบที่สําคัญที่สุดในมัสยิดเพราะใช
                       สําหรับทําพิธีสําคัญตามหลักศาสนานั่นคือการแสดงความภักดีตอพระเจารวมกันตามแนวทิศทาง

                       กิบละฮเพราะฉะนั้นในพื้นที่นั้นจะตองมีความสะอาดสงบเปนสัดสวนและปลอดภัยจากสิ่งเราตางๆใน
                       รอบๆพื้นที่พื้นที่ในการทําละหมาดสาหรับ       1       คนนั้นควรที่จะมีขนาดประมาณ
   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49