Page 4 - รวมคัมภีร์อัคคีภัย
P. 4
ส กู๊ ป พิ เ ศ ษ
ก อ ง บ ร ร ณ า ธิ ก า ร
กบั ความปลอดภยั ในอาคารสงู
สกปู๊ พเิ ศษ” ฉบบั นไ้ี ดม้ โี อกาสนาํา ขอ้ มลู “คมู่ อื กชู้ วี ติ ” ของคณุ คณาทตั
จนั ทรศ์ ริ ิ ทม่ี เี นอ้ื หาทน่ี า่ สนใจเกย่ี วกบั การดบั ไฟ การกภู้ ยั การกชู้ พี
พรอ้ มทง้ั วธิ กี ารปอ้ งกนั และแก้ไขทกุ สถานการณฉ์ กุ เฉนิ อนั ตราย
ได้ด้วยตัวเราเอง โดยเฉพาะเรื่องของผู้คนที่ต้องอาศัยหรือต้อง
ทาํา งานอยู่ในอาคารสงู เพราะบางเรอ่ื งอาจเปน็ สง่ิ ทเ่ี ราไมค่ าดคดิ
ว่าจะมาเกิดขึ้นกับเราหรือไม่ โดยเนื้อหาที่ TEMCA Mag. นําามา
เผยแพรน่น้ั นาําเอาเฉพาะบางสว่นมานาําเสนอไดเ้ทา่นน้ั เนอ่ืงจาก
เนื้อท่ีจําากัดในการนําาเสนอ แต่ถ้าท่านผู้อ่านอยากได้หนังสือ
เล่มนี้ขอบอกก่อนครับว่า หมดและไม่มีจําาหน่ายแล้ว จะหาได้ก็ตามร้านหนังสือมือสอง
แต่ขอบอกว่า “หายากมากๆ ครับ” และ TEMCA Mag. ต้องขอขอบคุณ คุณคณาทัต จันทร์ศิริ ผู้ เขียนหนังสือ “คู่มือกู้ชีวิต” ที่เอื้อเฟื้อและอนุญาตให้นําาข้อมูลคู่มือเล่มนี้มานําาเสนอท่านผู้อ่าน และต้อง ขอขอบคุณ คุณสุวิทย์ ศรีสุข ที่ให้ทีมงาน บก. ยืมนําาหนังสือคู่มือเล่มนี้ด้วยเช่นกัน
โดยเนื้อหาที่ TEMCA Mag. นําามาเสนอนั้น ไม่มีการดัดแปลงใดๆ ทั้งสิ้น เพื่อต้องการนําาความ รู้จากหนังสือ “คู่มือกู้ชีวิต” เล่มนี้มาให้ท่านผู้อ่านได้รับรู้ถึงความปลอดภัยในอาคารสูง พร้อมการ รับมือและป้องกันเมื่อเกิดอัคคีภัยหรือภัยต่างๆ ว่าควรทําาเช่นไร ซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อผู้อ่านเป็นอย่าง มาก
“คู่มือกู้ชีวิต หนึ่งในสิ่งสําาคัญที่สุดที่คุณต้องอบรม สั่งสอนให้ลูก เรียนรู้-เข้าใจ-จดจําา” คําา นิยามที่ผู้เขียนหนังสือเล่มนี้ได้ให้ไว้ในคู่มือเล่มน้ี...
บัญญัติ 10 ประการในอาคารสูง ไปแล้วครึ่งหน่ึงท่ีเหลืออีกคร่ึงหน่ึง ท่านจะ
(ข้อควรปฏิบัติเพ่ือความปลอดภัยเมื่อพักอาศัยในอาคาร นําาออกมาเองหรือให้มูลนิธิร่วมกตัญญู นําา
สูง)
สํารวจตรวจตร หทงหนี มีกรซ้อม พร้อมแจ้งภัย ให้รีบแผ่น เน้นปิดอับ อย่สับสน หคนช่วย ช่วยตัวเอง เจ๋งหรือจ๋อย
ออกมา” ดังนั้น เมื่อเข้ามาอาศัยในอาคาร ใดก็ตามพึงสําารวจดังต่อไปนี้
1.1 อุปกรณ์เตือนภัย
- เครื่องดักจับควัน(SmokeDelectors)
- เครื่องดักจับความร้อน(HeatDelectors)ฯลฯ
1.2 อุปกรณ์ดับเพลิงอัตโนมัติ (Sprinkler)
1.สําารวจตรวจตรา
พึงระลึกว่าเสมอว่า “แม้เพียงย่างก้าวเข้าอาคารสูง ISSUE4.VOLUME20.FEBRUARY-APRIL2014
ชีวิตหาย
11