Page 20 - คณิตศาสตร์ประถม
P. 20

14



               เรื่องที่  6  สมบัติของจํานวนนับและศูนย และการนําไปใช ในการแกปญหา

                       จํานวนนับ คือ จํานวนเต็มบวก ไดแก 1, 2, 3, 4, 5, .............. เปนตนไป เรื่อย ๆ

                       จํานวนนับที่มีคานอยที่สุด คือ 1
                       จํานวนนับที่มีคามากที่สุด ไมสามารถบอกคาได เพราะจํานวนนับมีมากมาย ไมสิ้นสุด

                       เราสามารถนับไปไดเรื่อย ๆ

                       สวน 0 เปนตัวเลข แตไมใชจํานวนนับ
                       6.1  สมบัติของหนึ่ง

                              1)  การคูณจํานวนใด ๆ ดวยหนึ่งหรือคูณหนึ่งดวย จํานวนใด ๆ จะไดผลคูณเทากับ

                             จํานวนนับ เชน

                                     4 × 1 = 4
                              หรือ  1 × 4 = 4



                              2)  การหารจํานวนใด ๆ ดวยหนึ่ง จะไดผลหารเทากับจํานวนนั้น  เชน
                                     3 ÷ 1 = 3

                              หรือ  7 ÷ 1 = 7

                       6.2  สมบัติของศูนย

                              1)  การบวกจํานวนใด ๆ ดวยศูนยหรือการบวกศูนยดวยจํานวนใด ๆ จะไดผลบวกเทากับ
                            จํานวนนั้น เชน

                                     2 + 0 = 2

                              หรือ  0 + 2 = 2
                              2)  การคูณจํานวนใด ๆ ดวยศูนย หรือการคูณศูนยดวยจํานวนใด ๆ จะไดผลคูณเทากับศูนย เชน

                                     2 × 0 = 0

                              หรือ  0 × 2 = 0
                              3)  การหารศูนยดวยจํานวนใด ๆ ที่ไมใชศูนย จะไดผลหารเทากับศูนย เชน

                                     0 ÷ 6 = 0

                              หรือ  0 ÷ 8 = 0

                              หรือ  0 ÷ 15 = 0
                       หมายเหตุ  ในทางคณิตศาสตร เราไมใช 0 เปนตัวหาร ดังนั้น การหารจํานวนใด ๆ ดวย 0 ไมมี

               ความหมายทางคณิตศาสตร

                       เชน   5 ÷ 0  ไมมีความหมายทางคณิตศาสตร
                       หรือ  36 ÷ 0   ไมมีความหมายทางคณิตศาสตร

                       หรือ  790 ÷ 0 ไมมีความหมายทางคณิตศาสตร
   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25