Page 8 - 10 แนวทางใหม่เพื่อท้องถิ่นพึ่งพาตนเอง
P. 8

หน้าที่ 7

                               1. รูปแบบการแก้ไขปัญหาภัยแล้งด้วยวิธีการขุดบ่อบาดาลน  าตื น

                                             ขนาด 6 นิ ว  ความลึกไม่เกิน 42 ม.























                          บูรณาการแก้ไขปัญหาภัยแล้งด้วยการขุดบ่อบาดาลน้้าตื้น ต.ทุ่งชมพู  อ.ภูเวียง จ.ขอนแก่น

                                                        วัตถุประสงค์

                           - เป็นแหล่งน้ าส ารองราคาประหยัดที่เกิดขึ้นได้รวดเร็วภายใน 3 วัน แก้ไขปัญหาความเดือดร้อนได้ทัน

               กับเวลา
                           - เป็นแหล่งน้ าที่มีความยืดหยุ่น ไม่ต้องมีระบบส่งน้ าหรือรอการขยายเขต ด าเนินการได้แทบทุกพื้นที่แม้ใน
               ท้องถิ่นที่ทุรกันดาร ราษฎรมีส่วนร่วมได้โดยไม่ต้องรอโครงการใหญ่

                           - แก้ไขปัญหาปากท้องให้แก่เกษตรกรรายย่อยได้อย่างเป็นรูปธรรมและหากเกิดภัยแล้งขึ้นอย่างรุนแรง
               แหล่งน้ านี้ยังเป็นที่พึ่งสุดท้ายของราษฎร
                           - เสริมความมั่นคงในเรื่องน้ าโดยรวมของประเทศ (ลดปัญหาการแย่งน้ าลง) เพราะแต่ละรายต่างก็มีแหล่ง

               น้ าในพื้นที่ของตนเอง
                          - นับเป็นการมีส่วนร่วมและเป็นการระเบิดจากภายในอย่างแท้จริง
                          - บาดาลน้ าตื้นที่พบในภาคอีสานส่วนมากจะเป็นน้ าจืด


                                                                ประโยชน์ที่ได้รับ

                         1) ใช้ในการอุปโภค - บริโภค และการท าเกษตรกรรมพืชใช้น้ าน้อยของเกษตรกรรายย่อยและกลุ่มย่อย
                         2) สร้างงาน สร้างอาชีพ สร้างรายได้ ในวัฏจักรการพึ่งพากันของชุมชน ไม่ต้องเข้าไปแออัดในเมืองหลวง
                         3) ใช้เป็นแหล่งน้ าดิบส ารอง ส าหรับการท าน้ าประปาชุมชน
                         4) ท าให้เกษตรกรรายย่อยมีความอ่อนตัวสูง มีอิสระ มีทางเลือกที่ตนถนัด จึงเกิดประสิทธิภาพสูงสุด

                         5) เป็นแหล่งน้ าส ารองเพื่อความต่อเนื่องส าหรับกิจกรรมแปรรูปพืชผลรายย่อยและโครงการวิสาหกิจชุมชน
                         6) ท าให้เกษตรกรได้รู้คุณค่าในการใช้น้ า การบริหารจัดการน้ าด้วยตนเอง พึ่งพาตนเองได้ ไม่หวังพึ่งพา
               ภาครัฐแต่เพียงอย่างเดียว

                         7) ช่วยลดการใช้ทรัพยากรที่ไม่จ าเป็นให้น้อยลง ท าให้ลดผลกระทบทางด้านอื่น ๆด้วย
                         8) ส่งเสริมให้เกษตรกรมีองค์ความรู้  มีทักษะในการเพาะปลูกพืชแบบผสมผสานและการท าเกษตรแบบ
               ประณีต
                         9) ลดจ านวนเกษตรกรผู้มีส่วนแบ่งในการใช้น้ าระบบชลประทานให้น้อยลง   ปริมาณน้ าจึงเพียงพอไม่ขาด

               แคลน
                       10) เมื่อเกษตรกรและชุมชนสามารถด ารงชีวิตอยู่ได้ด้วยตนเอง ก็จะน าพาส่วนรวมและประเทศชาติไปสู่

               มั่นคง
   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13