Page 19 - 10 แนวทางพัฒนาเพื่อท้องถิ่นพึ่งพาตนเอง (คู่มือปฏิบัติการ)
P. 19
หน้าที่ 18
10 ประโยชน์ของเขื่อนหรือร่องแกนใต้ดินแบบซอยซีเมนต์ มีดังนี้
1) ช่วยชะลอน้ าให้อยู่บนผืนดินด้วยระยะเวลาที่นานขึ้น มีปริมาณน้ าสะสมที่เพิ่มมากขึ้นตามระยะเวลา
2) การเก็บกักน้ าลงสู่เขื่อนใต้ดิน จะช่วยลดอัตราการระเหย ประหยัดพื้นที่ผิวดินในการเก็บกักน้ า เพิ่มปริมาณความจุ
น้ าโดยรวมของประเทศให้มากขึ้น
3) ช่วยยืดระยะเวลาการระบายน้ าในดินลงสู่แม่น้ าล าธาร ท าให้ลดความเสี่ยงที่จะเกิดปัญหา เช่น ดินโคลนถล่ม
ตลิ่งพังและการวิบัติอื่น ๆ ของลาดสโลป
4) คืนความชุ่มชื้นกลับสู่ธรรมชาติให้สมดุลดั้งเดิม เป็นผืนดินที่มีน้ าซับ ผืนป่ามีความชุ่มชื้น สิ่งแวดล้อมมีความ
อุดมสมบูรณ์
5) เมื่อผืนดินและผืนป่ามีความชุ่มชื้น ท าให้ลดอัตราเสี่ยงของการเกิดไฟป่าได้อีกด้วย
6) ใช้ผืนดินเป็นแหล่งเก็บกักน้ า แล้วค่อยๆระบายเป็นน้ าซับลงสู่ล าน้ า จะช่วยหล่อเลี้ยงชีวิตในระบบนิเวศน์และ
สิ่งแวดล้อมภายในล าน้ าได้ยาวนานยิ่งขึ้น
7) ปริมาณน้ าในดินเป็นปัจจัยหลักในการเชื่อมโยงและพยุงแหล่งน้ าผิวดินไม่ให้ลดต่ าลงอย่างรวดเร็วอีกด้วย
8) ระดับน้ าใต้ดินค่อยๆ สะสมและเพิ่มมากขึ้นโดยปริยาย จึงท าให้การใช้น้ าจากบ่อบาดาลน้ าตื้นบริเวณนั้นมีความ
ยั่งยืนด้วย
9) เป็นวิธีที่มีต้นทุนต่ าสามารถครอบคลุมพื้นได้มาก เหมาะที่จะน ามาใช้ฟื้นฟูแหล่งป่าเสื่อมโทรมได้เป็นอย่างดี
10) เมื่องานก่อสร้างเขื่อนใต้ดินแล้วเสร็จ จะกลมกลืนกับสภาพภูมิประเทศและไม่บดบังสภาพแวดล้อมแต่อย่างใด
ร่องแกนซอยซีเมนต์ส าหรับเก็บกักน้ าใต้ท้องล าน้ า สามารถท าในพื้นที่ที่ไม่อนุญาตให้มีการสร้างฝาย
หรือสิ่งกีดขวางล าน้ า แต่ต้องการให้ใต้ท้องล าน้ ามีน้ าใต้ดินอยู่ในระดับสูงตลอดท้องล าน้ า เป็นปริมาณที่มากและคง
ความชุ่มชื้นเพื่อรักษาสภาพล าน้ าและระบบนิเวศน์ภายในท้องล าน้ าให้ยาวนานที่สุด จนกว่าฤดูฝนใหม่จะมาถึง
หากท าร่องแกนซอยซีเมนต์เป็นช่วง ๆตามความเหมาะสมของระดับท้องน้ า ก็จะส่งผลให้น้ าใต้ดิน
สามารถหล่อเลี้ยงระบบนิเวศน์ตลอดท้องล าน้ าได้อย่างยั่งยืนสืบไป