Page 30 - 10 แนวทางพัฒนาเพื่อท้องถิ่นพึ่งพาตนเอง (คู่มือปฏิบัติการ)
P. 30
หน้าที่ 29
วัตถุประสงค์
การสูบน้ าด้วยพลังงานโซล่าเซลล์ขึ้นไปเก็บไว้บนถังพัก เพื่อให้น้ ามีระดับที่สูงขึ้น เพียงพอต่อแรงโน้มถ่วง
ที่จะกระจายน้ าเข้าสู่แปลงในรูปแบบต่าง ๆ เช่น แบบเทปน้ าหยด แบบท่อน้ าหยด แบบน้ าพุ่ง แบบสปริงเกอร์ เป็นต้น
โดยรวมแล้วทุกแบบเป็นการเพาะปลูกด้วยการจ่ายน้ าให้แก่พืชในแบบประหยัดน้ าและประหยัดพลังงาน ส่งผลให้
เกษตรกรมีต้นทุนที่ลดลง ประกอบอาชีพได้อย่างต่อเนื่อง (เพราะใช้น้ าน้อย)
ปัจจุบันการท าเกษตรกรรมแบบประณีตแทบทุกแห่ง มีความจ าเป็นที่จะต้องใช้ถังพักน้ าและฐานฯ
ส าเร็จรูป ดังนั้นเทคนิคทางด้านการออกแบบฐานส าหรับถังพักน้ าจึงมีความส าคัญมากต่อการขยายตัวของการ
ท าเกษตรกรรมในแบบดังกล่าวข้างต้น
ประโยชน์ที่ได้รับ
1) ถังพักน้ าเป็นการยกระดับน้ าเพื่อสร้างแรงโน้มถ่วงส าหรับใช้ในการกระจายน้ าเข้าสู่แปลงเพาะปลูก
2) ลดค่าใช้จ่ายเรื่องพลังงานในการผลักดันเพื่อการส่งน้ าเข้าสู่แปลงเพาะปลูกจึงท าให้ต้นทุนลดลงด้วย
3) ถังพักน้ าท าหน้าที่พักน้ าเพื่อการส่งน้ าเข้าสู่แปลงทันที จึงไม่จ าเป็นต้องสร้างถังพักน้ าไว้เป็นจ านวนมาก
ท าให้ประหยัดงบประมาณได้มาก
4) ถังพักน้ าพร้อมฐานถูกออกแบบมาเพื่อให้ง่ายในการประกอบและติดตั้งอย่างรวดเร็ว
5) วัสดุและอุปกรณ์ถูกออกแบบมาเพื่อให้สะดวกในการขนส่ง ล าเลียง แม้ในพื้นที่ทุรกันดาร
6) มีน้ าหนักเบาจึงสามารถขนส่งได้คราวละมาก ๆ ท าให้แพร่กระจายได้อย่างรวดเร็ว
7) คุ้มค่ากับงบประมาณ ใช้งานได้เป็นระยะเวลาที่ยาวนาน
8) มีความยืดหยุ่นตัวสูง สามารถติดตั้งได้แทบทุกพื้นที่
9) สามารถปรับเปลี่ยนแก้ไขให้มีรูปแบบที่เหมาะสมกับการใช้งานได้หลากหลาย
10) มีความมั่นคงแข็งแรง จึงปลอดภัยในการใช้งานเป็นที่ตั้งแหล่งน้ าส ารองได้ทุกครัวเรือน
ตัวอย่างการแก้ไขปัญหาภัยแล้งที่ประสบความส าเร็จด้วยชุดหอถังพักน้ า
ใช้เงินลงทุน 150,000 บาท
แปลงเกษตรของกลุ่มเกษตร (นายประจบ ชาแป โทร. 093-3266742) บ.เสาเล้า ต.กุดเพียขอม อ.ชนบท
จ.ขอนแก่น พื้นที่การเพาะปลูก จ านวน 11 ไร่ การเพาะปลูก เช่น มะม่วง, มะเขือ, พริก,มะละกอ,มะนาว,
กล้วยน้ าหว้า, มัน และเลี้ยงสัตว์ เช่น วัว, ไก่, ปลา, กบ, หมู
ก่อสร้างเมื่อประมาณเดือนมิ.ย. 60 รายได้ต่อปี : 170,000 บาท (ขั้นต่ า)