Page 52 - 10 แนวทางพัฒนาเพื่อท้องถิ่นพึ่งพาตนเอง (คู่มือปฏิบัติการ)
P. 52
หน้าที่ 51
10. บ่อเติมน้ าใต้ดิน (แบบอนุรักษ์คุณภาพน้ า)
วัตถุประสงค์
การออกแบบสร้างธนาคารน้ าใต้ดินให้ได้อย่างมีประสิทธิผล ตรงจุดที่ชั้นใต้ดินควรเป็นบริเวณมีที่แหล่งกัก
เก็บน้ าที่เหมาะสม ด้วยการใช้เทคโนโลยีทางการส ารวจที่ทันสมัย มีขั้นตอนที่ง่ายเข้าช่วย สิ่งที่ส าคัญคือการรักษา
สภาพแวดล้อมและคุณภาพของน้ า ด้วยการค านึงถึงคุณภาพของน้ าที่จะต้องผ่านการกรองลงไปสู่ชั้นน้ าใต้ดินโดยให้
เหมือนกับการกรองด้วยธรรมชาติที่สุด ในที่นี้ใช้ชั้นทรายที่หนา 3-4 ม. เป็นวัสดุกรองแต่เพียงอย่างเดียว เพื่อต้นทุนที่ต่ า
วัสดุหาง่าย มีความคุ้มค่า
*** ในชั้นใต้ดินบางแห่งอาจไม่ได้รับผลตามที่ต้องการซึ่งก็อาจพบได้บ้าง เพื่อไม่ให้เกิดการสิ้นเปลืองมาก
เกินไป เป็นการจัดการน้ าอย่างสมดุลเพื่อให้ใกล้เคียงกับการเติมน้ าลงสู่ชั้นใต้ดินตามแบบธรรมชาติให้มากที่สุด มี
ส่วนช่วยแก้ไขปัญหาน้ าท่วมและภัยแล้งได้ ซึ่งผลของการเปลี่ยนแปลงจะท าให้ระดับน้ าใต้ดินนอกจากจะมีระดับที่
สูงขึ้น ยังเป็นน้ าที่มีคุณภาพดีอีกด้วย
ทั้งนี้ นับเป็นการเพิ่มโอกาสให้แก่เกษตรกรในการบริหารจัดการน้ าหลังฤดูเก็บเกี่ยวไปจนถึงฤดูฝนใหม่ เป็น
การสร้างงาน สร้างอาชีพ เพิ่มรายได้ให้แก่ชุมชน สามารถท าการเพาะปลูกได้ตลอดปี สามารถเปลี่ยนคุณภาพชีวิตของ
ชุมชนให้ดีขึ้นได้อย่างยั่งยืนสืบไป
ประโยชน์ที่ได้รับ
1) การกักเก็บน้ าในชั้นใต้ดินนั้น หากเป็นชั้นดินหรือชั้นหินที่มีความเหมาะสมแล้ว จะสามารถกักเก็บน้ าใต้ดินได้
เป็นปริมาณที่มหาศาล
2) แหล่งน้ าใต้ดินนี้ สามารถสูบขึ้นมาใช้ได้ในพื้นที่โดยตรง ในพื้นที่นอกเขตชลประทาน โดยไม่ต้องอาศัยระบบส่ง
น้ าหรือระบบที่มีค่าใช้จ่ายสูง
3) บ่อเติมน้ าใต้ดินช่วยลดความรุนแรงของน้ าท่วมหรือน้ าท่วมขังให้บรรเทาเบาบางลงด้วย
4) บ่อเติมน้ าใต้ดินสร้างความสมดุลให้แก่ระบบน้ าใต้ดิน เพราะเมื่อน าน้ ามาใช้ก็ต้องเติมน้ าลงไปทดแทนเช่นกัน
5) การเติมน้ าใต้ดินช่วยกดน้ ากร่อยหรือน้ าเค็ม ซึ่งมีน้ าหนักมากกว่าให้ลดระดับลึกลงไป
6) การเติมน้ าใต้ดินนั้นอาจมีข้อเสียที่ต้องควรระวังอยู่บ้าง แต่ประโยชน์ที่ได้รับนั้นมีมากมายกว่าหลายเท่า
7) เป็นแหล่งน้ าส ารองล าดับท้ายสุดที่มีคุณภาพ ส าหรับน้ าที่ใช้ในการอุปโภค-บริโภคและการเกษตรกรรม
8) การบริหารจัดการที่ดี ด้วยความระมัดระวังและเข้าใจอย่างลึกซึ้ง จะท าให้แหล่งน้ าใต้ดินมีความมั่นคงอย่าง
ยาวนาน
9) แหล่งน้ าใต้ดินท าให้เกษตรกรมีแผนงานที่แน่นอน เกิดความมั่นคงทางภาคการเกษตรอย่างไม่เคยมีมาก่อน
10) เพิ่มโอกาส เพิ่มทางเลือกให้แก่เกษตรกร เพิ่มรายได้ให้กับชุมชน มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นอย่างยั่งยืนสืบไป