Page 16 - 10 แนวทางใหม่เพื่อท้องถิ่นพึ่งพาตนเอง
P. 16
หน้าที่ 15
3. รูปแบบการแก้ไขปัญหาภัยแล้งด้วยชุดสูบน าโซล่าเซลล์ ซับเมอร์ส บัสเลส
และชุดโครงสร้างรับแผงโซล่าเซลล์พร้อมอุปกรณ์ มี 3 แบบ คือ
ร่วมบูรณาการติดตั้งในแปลงของกลุ่มเกษตรกร ร่วมกับองค์การบริหารส่วนต าบลทุ่งชมพู อ.ภูเวียง จ.ขอนแก่น
วัตถุประสงค์
ในช่วงฤดูแล้งแหล่งน้ าต่าง ๆ เช่น แม่น้ า ล าน้ า อ่างเก็บน้ า สระน้ า ตลอดจนบ่อน้ าบาดาลน้ าตื้น ก็จะมีระดับ
น้ าที่ต่ าลงจากเดิม ท าให้เมื่อต้องน าน้ าขึ้นมาใช้ในการอุปโภค-บริโภค และท าการเกษตรกรรม จึงจ าเป็นต้องใช้การสูบน้ า
เป็นหลัก
ดังนั้นชุดสูบน้ าโซล่าเซลล์ จึงเป็นอีกพลังงานทางเลือก ที่มีความทนทาน ประหยัด ปราศจากมลพิษ และมี
ประสิทธิภาพสูง
ประโยชน์ที่ได้รับ
1) สามารถน าน้ าขึ้นมาใช้ประโยชน์ได้ในแทบทุกพื้นที่อย่างกว้างขวาง
2) พลังงานโซล่าเซลล์สามารถน ามาใช้ในการด ารงชีวิตภายในแปลงเพาะปลูกได้อย่างเอนกประสงค์
3) เป็นมิตรกับธรรมชาติ ไม่มีผลกระทบกับสิ่งแวดล้อม
4) ขั้นตอนในการด าเนินงานและการดูแลรักษา สะดวก เรียบง่าย รวดเร็ว และประหยัด
5) มีอัตราการสูบน้ าเพียงพอส าหรับการเพาะปลูกพืชใช้น้ าน้อย การเกษตรแบบผสมผสานและการเกษตรแบบ
ประณีต
6) เกษตรกรจะไม่ได้รับผลกระทบเมื่อเกิดวิกฤตการณ์ทางด้านพลังงาน
7) มีความยืดหยุ่นสูงมาก ไม่ต้องรอระบบส่งน้ าหรือรอการขยายเขตส่งน้ า และยังส่งน้ าจากที่ต่ าขึ้นสู่ที่สูงได้ด้วย
8) ด้วยต้นทุนที่ต่ า จึงสามารถส่งผลผลิตกระจายออกสู่ท้องตลาดได้ง่าย
9) โซล่าเซลล์ท าให้เกษตรกรทุกพื้นที่ท าการเพาะปลูกได้ตลอดทั้งปี ลดปัญหาปากท้อง ลดความตึงเครียด
ลดความกังวลลงได้มาก
10) เมื่อเกษตรกรมีอาชีพที่มั่นคง จะสร้างทัศนคติทางด้านความเชื่อมั่นที่ดีต่อภาครัฐด้วย