Page 44 - 10 แนวทางใหม่เพื่อท้องถิ่นพึ่งพาตนเอง
P. 44

หน้าที่ 43



                                                      วัตถุประสงค์

                            การออกแบบสร้างธนาคารน้ าใต้ดินอย่างมีประสิทธิผล ในชั้นใต้ดินควรเป็นบริเวณมีที่แหล่งกักเก็บน้ าที่

           เหมาะสม ต้องใช้เทคโนโลยีการส ารวจที่ทันสมัยเข้าช่วย รวมทั้งการรักษาสภาพแวดล้อม รวมถึงการค านึงถึงคุณภาพของ
           น้ าที่จะต้องผ่านการกรองด้วยชั้นทรายที่หนา 3-4 ม. ด้วย (ในที่นี้ใช้ “ทราย” เป็นวัสดุกรองเพียงอย่างเดียว) จึงจะเป็น

           การจัดการน้ าอย่างสมดุล เพื่อให้ใกล้เคียงกับการเติมน้ าลงสู่ชั้นใต้ดินตามแบบธรรมชาติให้มากที่สุด จะช่วยแก้ปัญหาน้ า

           ท่วมและภัยแล้งได้ ซึ่งผลของการเปลี่ยนแปลงท าให้ระดับน้ าใต้ดินตื้นเพิ่มขึ้น    เพื่อเป็นการเพิ่มโอกาสให้แก่เกษตรกรใน
           การบริหารจัดการน้ าหลังฤดูเก็บเกี่ยวไปจนถึงฤดูฝนใหม่ ซึ่งเป็นการสร้างงานสร้างอาชีพ เพิ่มรายได้ให้กับชุมชน เปลี่ยน

           คุณภาพชีวิตของชุมชนให้ดีขึ้นได้อย่างยั่งยืน

                              หมายเหตุ : ธนาคารน  า 3 ประโยชน์ มีอีกหน้าที่สามารถใช้เป็นบ่อบาดาลน  าตื นได้ด้วย



                                                             ประโยชน์ที่ได้รับ


                            1) การกักเก็บน้ าในชั้นใต้ดินนั้น หากเป็นชั้นดินหรือชั้นหินที่มีความเหมาะสมแล้ว  จะสามารถกักเก็บน้ าใต้
           ดินได้เป็นปริมาณที่มาก

                           2) แหล่งน้ าใต้ดินนี้ สามารถสูบขึ้นมาใช้ได้ในพื้นที่โดยตรง ในพื้นที่นอกเขตชลประทาน โดยไม่ต้องอาศัย
           ระบบส่งน้ าหรือระบบที่มีค่าใช้จ่ายสูง
                           3) บ่อเติมน้ าใต้ดินช่วยลดความรุนแรงของน้ าท่วมหรือน้ าท่วมขังให้บรรเทาเบาบางลงด้วย
                           4) บ่อเติมน้ าใต้ดินสร้างความสมดุลให้แก่ระบบน้ าใต้ดิน เพราะเมื่อน าน้ ามาใช้ก็ต้องเติมน้ าลงไปทดแทน

           เช่นกัน
                           5) การเติมน้ าใต้ดินช่วยกดน้ ากร่อยหรือน้ าเค็ม ซึ่งมีน้ าหนักมากกว่าให้ลดระดับลึกลงไป

                            6) การเติมน้ าใต้ดินนั้นอาจมีข้อเสียที่ต้องควรระวังอยู่บ้าง แต่ประโยชน์ที่ได้รับนั้นมีมากมายกว่าหลายเท่า
                           7) ใช้เป็นบ่อน้ าตื้น (แหล่งน้ าส ารอง) ล าดับท้ายสุดที่มีคุณภาพ ส าหรับน้ าที่ใช้ในการ อุปโภค-บริโภค และ
           การเกษตรกรรม
                           8) การบริหารจัดการที่ดี ด้วยความระมัดระวังและเข้าใจอย่างลึกซึ้ง จะท าให้แหล่งน้ าใต้ดินมีความมั่นคง

           อย่างยาวนาน
                          9) แหล่งน้ าใต้ดินท าให้เกษตรกรมีแผนงานที่แน่นอน เกิดความมั่นคงทางภาคการเกษตรอย่างไม่เคยมีมา
           ก่อน

                         10) เพิ่มโอกาส เพิ่มทางเลือกให้แก่เกษตรกร เพิ่มรายได้ให้กับชุมชน มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นอย่างยั่งยืนสืบไป
   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49