Page 67 - Merged-๒๐๑๘๑๑๐๙-๑๕๕๘๑๒
P. 67

โครงการวิถีตานี วิถีอาเซียน กิจกรรมจัดนิทรรศการ “กริชาภรณ์”

               วัตถุประสงค์
                      ๑. เพื่อกระตุ้นให้เกิดการอนุรักษ์สืบสาน ศิลปะและวัฒนธรรมของท้องถิ่น ในการศึกษาค้นคว้า สืบสาน

               สร้างสรรค์ เพื่อเพิ่มคุณค่าทางสังคมและเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจ
                      ๒. เพื่อส่งเสริมการจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้รูปแบบการผลิตและการสะสมกริชที่เป็นมรดกร่วมใน
               การสร้างความสัมพันธ์ของอาเซียน

                      ๓. เพื่อเปิดเวทีให้ทุกภาคส่วนได้มีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมงานวัฒนธรรม
                      ๔. เพื่อเสริมสร้างความเข้าใจอันดีระหว่างภาครัฐและประชาชนในการอยู่ร่วมกันบนความหลากหลาย
               ทางศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม

               เป้าหมาย/กิจกรรม
                      ๑. กลุ่มเปูาหมายเข้าร่วมกิจกรรมจ านวน ๘๐๐ คน

                      ๒. จัดนิทรรศการ ในหัวข้อ “กริชาภรณ์”
                      ๓. อัตลักษณ์ทางวัฒนธรรม วิถีชีวิต และภูมิป๎ญญาท้องถิ่น ได้รับการพัฒนาและส่งเสริมเพิ่มขึ้น

               ระยะเวลาและสถานที่ที่ด าเนินกิจกรรม
                      วันที่ ๒๔ – ๒๕ มีนาคม ๒๕๖๑ ณ โรงแรม ซี.เอส.ป๎ตตานี อ าเภอเมืองป๎ตตานี จังหวัดป๎ตตานี

               ผลการด าเนินงาน
                      2.1 การประชุมหารือการด าเนินงานด้านวัฒนธรรมระหว่างเครือข่ายทางวัฒนธรรมจังหวัดป๎ตตานี และ
               เครือข่ายทางวัฒนธรรมจากประเทศมาเลเซีย  โดย ปลัดกระทรวงวัฒธรรม เป็นประธานการประชุม เครือข่ายทาง

               วัฒนธรรมจังหวัดป๎ตตานี ได้แก่ ส านักงานวัฒนธรรมจังหวัดป๎ตตานี สภาวัฒนธรรมจังหวัดป๎ตตานี ชมรมกริช
               ป๎ตตานี ชมรมอนุรักษ์มรดกป๎ตตานี และชมรมอนุรักษ์มรดกป๎ตตานี เครือข่ายจากประเทศมาเลเซีย ได้แก่ สมาคม
               มรดกทางวัฒนธรรมรัฐเคด้า นายกสโมสรนักอนุรักษ์วัตถุโบราณรัฐปาหัง พิพิธภัณฑ์รัฐตรังกานู สมาคมนักอนุรักษ์

               วัฒนธรรมมลายูรัฐปูเลาปีนัง สมาคมนักอนุรักษ์วัตถุโบราณรัฐกลันตัน และคณะวัฒนธรรมวิทยามลายู
               มหาวิทยาลัยมาลายา กัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย
                          สรุปประเด็นที่ 1 ด้านการส่งเสริมความร่วมมือในการอนุรักษ์มรดกร่วมทางวัฒนธรรมไทย -มาเลเซีย
                           ทั้งสองฝุายให้ความส าคัญเรื่องมรดกร่วมทางวัฒนธรรมไทย-มาเลเซีย ซึ่งทั้งสองฝุายต่างมีวิถีชีวิต

               ศิลปวัฒนธรรมที่คล้ายคลึงกัน แต่ก็แตกต่างกันในรายละเอียดปลีกย่อย ถือเป็นมรดกร่วมทางวัฒนธรรมส าคัญที่จับ
               ต้องไม่ได้ (Intangible Cultural Heritage) เช่น ด้านอาหารการกิน ได้แก่ ข้าว แกงส้มป๎กษ์ใต้ ข้าวย า ข้าวเหนียว
               นานาชนิด และอาหารพื้นถิ่นมลายู, ด้านศิลปะการแสดง ได้แก่ ดิเกร์ฮูลู มะโย่ง มโนราห์ ซีลัต เป็นต้น

                           เห็นชอบที่จะร่วมมือการจัดกิจกรรมในลักษณะเทศกาล/มหกรรม ทางวัฒนธรรมร่วมกัน เช่น
               เทศกาลการแสดงทางศิลปวัฒนธรรม เทศกาลอาหาร ผ้า หนังใหญ่
                           เห็นชอบความร่วมมือในการพัฒนาองค์ความรู้ทางด้านศิลปวัฒนธรรมอย่างลึกซึ้งในด้านมรดก
               ภูมิป๎ญญาทางวัฒนธรรมแขนงต่างๆ ที่สามารถอ้างอิงได้ เพื่อให้อนุชนรุ่นหลังได้เรียนรู้และร่วมกันอนุรักษ์สืบต่อไป

                          สรุปประเด็นที่ ๒ การพัฒนาต่อยอดการจัดงานกริชาภรณ์
                           การจัดงานกริชาภรณ์ ครั้งนี้ จัดขึ้นเป็นครั้งที่ ๓ ท าให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านกริช วิถีชีวิต
               วัฒนธรรม ระหว่างช่างตีกริช นักวิชาการ ตลอดจนประชาชน นักเรียน นักศึกษา เพื่อเป็นการพัฒนางานดังกล่าว
               ให้ประสบความส าเร็จในระยะยาว ทั้งสองฝุายเห็นชอบที่จะร่วมมือกันจัดท าเอกสารสื่อเผยแพร่องค์ความรู้ เพื่อให้

               สาธารณชนได้ตระหนักในการร่วมกันอนุรักษ์และสืบทอดมรดกทางวัฒนธรรมดังกล่าวสืบต่อไป


               สรุปผลการด าเนินงานของส านักงานวัฒนธรรมจังหวัดป๎ตตานี ประจ าปี ๒๕๖๑                       62
   62   63   64   65   66   67   68   69   70   71   72