Page 41 - Merged-๒๐๑๘๑๑๐๙-๑๕๕๘๑๒
P. 41

สิ่งไม่ดีลอยไปกับทะเล ซึ่งในอดีตการไปท าบุญต้องไปท าบุญบริเวณทะเลและจะมีการค้างคืนในบริเวณพิธี
                  โดยชาวบ้านจะสร้างกระท่อมหรือขน าเล็กๆ ส าหรับพักผ่อนซึ่งเวลากลางคืนชาวบ้านจะมี กิจกรรมรื่นเริง
                  และร่วมกันรับประทานอาหารและของหวานต่างๆ ตลอดจนมีการละเล่นพื้นบ้านเพื่อสร้างความสามัคคีใน

                  ชุมชน
                         ประเพณีลงเลเป็นประเพณีที่ปฏิบัติกันมาเป็นเวลานาน ไม่สามารถรู้ได้ว่าเริ่มต้นขึ้นเมื่อใด แต่เมื่อ
                  ถึงเวลาที่ก าหนด คือ เดือน ๘ สมาชิกในชุมชนและญาติพี่น้องที่แยกย้ายถิ่นไปท ามาหากินที่อื่นๆจะพากัน
                  เดินทางกลับมายังถิ่นฐาน เพื่อประกอบพิธีนี้ โดยมีความเชื่อว่าน าความทุกข์หรือสิ่งไม่ดีทั้งหลายลอยไปกับ

                  ทะเล เป็นการป๎ดเปุาสิ่งชั่วร้ายให้พ้นไปจากหมู่บ้าน ปล่อยเคราะห์กรรม สิ่งไม่ดีที่เกิดขึ้นในหมู่บ้านให้ลอย
                  ไปกับทะเล ห่างไกลสิ่งไม่ดีไม่ร้ายทั้งหลาย ถ้าปีไหนไม่ได้ท าพิธีลงเล จะเกิดอาเพทในหมู่บ้าน หรือคนที่
                  อาศัยอยู่ในบริเวณที่ท าพิธี เช่น คนในหมู่บ้านเจ็บไข้ได้ปุวย ถือเป็นสัญญาณเตือนต้องรีบท าพิธีลงเลเพื่อแก้

                  เคราะห์กรรมที่เกิดขึ้น
                         พิธีลงเลจะท าพิธีตรงกับ วันขึ้น ๑๕ ค่ า เดือน ๘ ถ้าเดือน ๘ มีสองครั้งใน ๑ ปี ให้จัดเดือน ๘ หลัง
                  และจะจัดได้เฉพาะวันจันทร์และวันพฤหัสบดีเท่านั้น พิธีกรรมจะจัดขึ้นบริเวณริมชายหาด ชาวบ้านจะ
                  ร่วมกันท าแพและบนแพจะท าเป็นบ้าน เพื่อน าของเซ่นไหว้ใส่ไว้บนแพแล้วไปลอยลงสู่ทะเล โดยมีความเชื่อ
                  ว่าจะน าความทุกข์หรือสิ่งไม่ดีลอยไปกับทะเล เป็นพิธีกรรมของชาวบ้านที่นับถือศาสนาพุทธ ในอ าเภอไม้

                  แก่น จังหวัดป๎ตตานี โดยต าบลไม้แก่น จะท าพิธีลงเลที่ทะเลกระจูด ต าบลไทรทอง จะท าพิธีลงเลที่หาด

                  ละเวง และต าบลตะโละไกรทอง จะท าพิธีในวัดแล้วน าไปลอยที่คลอง
                                                                        ประเพณีแห่นก  เป็นประเพณีพื้นเมือง
                                                                 ของจังหวัดชายแดนภาคใต้ เช่น ป๎ตตานี ยะลา

                                                                 นราธิวาส ซึ่งได้กระท าสืบเนื่องกันมาเป็น
                                                                 เวลานาน จัดขึ้นเป็นครั้งคราวตามโอกาสเพื่อ
                                                                 ความสนุกรื่นเริง เป็นประเพณีที่แสดงออก
                                                                 เกี่ยวกับความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในศิลปะและ

                                                                 อาจจัดขึ้นในโอกาสเพื่อเป็นการแสดงคารวะ
                                                                 แสดงความจงรักภักดีแก่ผู้ใหญ่ที่ควรเคารพนับถือ
                                                                 หรือในโอกาสต้อนรับแขกเมือง บางทีอาจจะจัด
                  ขึ้นเพื่อความรื่นเริงในพิธีการเข้าสุหนัด หรือที่เรียกว่า “มาโซะยาวี” หรือจัดขึ้นเพื่อการประกวดเป็นครั้งคราว

                             จากต านานบอกเล่ากล่าวถึงความเป็นมาของประเพณีแห่นกว่าเริ่มที่ยาวอ (ชวา) กล่าวคือ มีเจ้าผู้
                  ครองนครแห่งยาวอพระองค์หนึ่ง มีพระโอรสและพระธิดาหลายพระองค์พระธิดาองค์สุดท้องทรงเป็นที่รัก
                  ใคร่ของพระบิดาเป็นอย่างยิ่งจึงได้รับการเอาอกเอาใจทั้งจากพระบิดาและข้าราชบริพารต่างพยายาม

                  แสวงหาสิ่งของและการละเล่นมาบ าเรอในจ านวนสิ่งเหล่านี้มีการจัดท านกและจัดตกแต่งอย่างสวยงาม แล้ว
                  มีขบวนแห่แหนไปรอบๆ ลานพระที่นั่ง เป็นที่พอพระทัยของพระธิดาเป็นอย่างยิ่ง จึงโปรดฯ ให้มีการจัดแห่
                  นกถวายทุก 7 วัน
                             อีกต านานหนึ่งว่า ชาวประมงได้น าเหตุมหัศจรรย์ที่ได้พบเห็นมาจากท้องทะเลขณะที่ตระเวนจับ
                  ปลามา เล่าว่า พวกเขาได้เห็นพญานกตัวหนึ่งสวยงามอย่างมหัศจรรย์ ผุดขึ้นมาจากท้องทะเลแล้วบิน

                  ทะยานขึ้นสู่อากาศแล้วหายลับไปสู่ท้องฟูาพระยาเมืองจึงซักถามถึงรูปร่างลักษณะของนกประหลาดตัวนั้น
                  ต่างคนต่างก็รายงานแตกต่างกันตามสายตาของแต่ละคน พระยาเมืองตื่นเต้นและยินดีมาก ลูกชายคน



                  สรุปผลการด าเนินงานของส านักงานวัฒนธรรมจังหวัดปัตตานี ประจ าปี ๒๕๖๑                 36
   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46