Page 43 - เล่มที่ 1 สรุปสาระสำคัญ RCEP
P. 43
- 38 - - 39 -
ประเทศ ตัวอย่างสาขาบริการ 3.2 การเปิดเสรีการลงทุนของประเทศคู่เจรจาอาเซียนที่ระบุในรายการข้อสงวนด้านการลงทุน
นิวซีแลนด์ - บริหารจัดหาและสรรหาบุคลากร ประเทศคู่เจรจาอาเซียนมีการเปิดเสรีการลงทุนเพิ่มเติมจากความตกลงที่ไทยเป็นภาคีด้วยอยู่แล้ว ดังนี้
- บริการเสริมของการขนส่งทางอากาศ อาทิ บริการซ่อมและบ ารุงรักษาอากาศยาน บริการ ประเทศ ตัวอย่างข้อผูกพันด้านการลงทุน
คลังสินค้า บริการสัมภาระ บริการบริหารจัดการสนามบิน บริการตัวแทนจัดเก็บสินค้า จีน - สาขาเกษตร ป่าไม้ และการผลิต (ยกเว้นรถยนต์ และยา)
บริการลานจอดในอากาศยาน และบริการสนับสนุนอื่นๆ เพื่อการขนส่งทางอากาศ (ยกเว้นท ี ่
เกี่ยวกับการป้องกันและการดับเพลิง) เกาหลี - สาขาเกษตร (ยกเว้นการปลูกข้าว และฟาร์มปศุสัตว์) ป่าไม้ เหมืองแร่ และการผลิต (ยกเว้น
อาวุธ หนังสือพิมพ์ เครื่องดื่มแอลกอฮอล์)
ภาคผนวก 3 ตารางข้อสงวนและมาตรการที่ไม่สอดคล้องกับพันธกรณีส าหรับบริการและการลงทุน ญี่ปุ่น - สาขาเกษตร การผลิต (ยกเว้นธนบัตร เหรียญกษาปณ์ ยาสูบ)
3.1 การเปิดเสรีการลงทุนของไทย ออสเตรเลีย - สาขาเกษตร ประมง ป่าไม้
่
3.1.1 ไทยเปิดเสรีให้แก่นักลงทุนของภาคีในการประกอบธุรกจในสาขายอยต่าง ๆ ภายใต้ ๔ สาขาที่ นิวซีแลนด์ - สาขาเหมืองแร่ ป่าไม้
ิ
่
ไมใช่บริการ (non-service sectors) ได้แก่ การเกษตร ประมง เหมืองแร่ และการผลิต โดยไม่เปิดเสรีป่าไม้ใน
ความตกลงฉบับนี้ โดยไทยได้ระบุให้นักลงทุนของภาคีสามารถเข้ามาลงทุนและถือหุ้นได้ ดังนี้
1) ไม่เกินร้อยละ 49 – สาขาการเกษตร 2 สาขายอย (การเพาะพนธุ์เมล็ดหัวหอมใหญ่ และ ภาคผนวก 4 ตารางข้อผูกพันเฉพาะในการเคลื่อนย้ายชั่วคราวของบุคคลธรรมดา
่
ั
ั
่
การเลี้ยงโค กระบือ ม้า แพะ แกะ) สาขาเหมืองแร 2 สาขายอย (การท าเหมืองหินออนและการผลิตน้ ามันและ ในการผูกพนการเคลื่อนย้ายชั่วคราวของบุคคลธรรมดา ไทยอนุญาตเฉพาะบุคคลธรรมดา
่
่
ก๊าซ โดยต้องได้รับสัมปทานจากรัฐบาล) 2 ประเภท ได้แก่ 1) ผู้เยี่ยมเยือนทางธุรกิจ (Business Visitor) โดยอนุญาตให้เข้ามาพานักในไทยได้ไม่เกิน 90 วัน
่
2) ไม่เกินร้อยละ 51 - สาขาประมง 2 สาขายอย (การเพาะเลี้ยงปลาทูน่าในกระชังน้ าลึก และ 2) ผู้โอนย้ายภายในบริษัท (Intra-Corporate Transferee) ในระดับผู้จัดการ ผู้บริหาร และผู้เชี่ยวชาญ
ิ
่
้
ั
และกุ้งมังกร 6 สายพนธุ์) โดยอนุญาตให้เข้ามาพานักในไทย ครั้งแรกไม่เกิน 1 ปี และอาจขยายเวลาไดไมเกน 3 ครั้ง ครั้งละ 1 ปี ส าหรับ
ิ
ุ
้
้
3) รอยละ 100 – สาขาการผลต 23 สาขายอย ได้แก่ การผลิตรถยนต์ สิ่งทอ (ยกเว้นผา สาขาบริการที่อนุญาตดังกล่าว อาทิ บริการให้ค าปรึกษาเกี่ยวกับการติดตั้งอปกรณ์คอมพวเตอร์ บริการข้อมูล
ิ
่
ไหม) ผลิตภัณฑ์พลาสติก อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ อปกรณ์ส านักงาน โทรทัศน์ วิทยุและเครื่องรับ การผลิตหุ่นยนต์ ออนไลน์และการสืบค้นฐานข้อมูล บริการงานก่อสร้างด้านอาคาร บริการคุ้มครองสิ่งแวดล้อมและลดปัญหา
ุ
ั
ุ
ุ
ส าหรับอตสาหกรรม การผลิตอปกรณ์เคเบิ้ลและลวดที่หุ้มฉนวน การผลิตอปกรณ์ส าหรับต่อเครื่องคอมพวเตอร์ สิ่งแวดล้อม บริการประกันชีวิต การให้เช่าทรัพย์สินแบบลิสซิ่งทางการเงิน บริการโรงแรมที่พก บริการขนส่ง
ุ
ิ
และการผลิตผลิตภัณฑ์จากนม แป้งและผลิตภัณฑ์จากแป้ง มักกะโรนี และอาหารแปรรูป ผู้โดยสาร บริการเก็บสินค้าและคลังสินค้าส าหรับการขนส่งทางทะเล
ื่
3.1.2 ไทยไดสงวนมาตรการต่าง ๆ เพอให้ไทยยังคงใช้มาตรการเหล่านั้นได้ หรืออาจมีการปรับใน
้
อนาคต เช่น 1) มาตรการที่เป็นไปเพื่อความมั่นคงและปลอดภัยของประเทศตามรัฐธรรมนูญ 2) มาตรการในเร่อง ***************************
ื
การถือครองและการใช้ที่ดิน 3) มาตรการระดับท้องถิ่น 4) มาตรการที่เกี่ยวข้องกับการลงทุนในรูปแบบ
ั
่
ื
้
หลักทรัพย์ (Portfolio Investment) 5) มาตรการเพอปองกันความผนผวนของคาเงิน 6) มาตรการเกี่ยวข้องกับ
่
ุ
ชนกลุ่มน้อย 7) สาขาการลงทนใหม ๆ 8) มาตรการภายใต้พระราชบัญญัติการประกอบธุรกิจของคนต่างด้าว
่
ั
พ.ศ. 2542 ในเรื่อง (1) ความม่นคงและปลอดภัย และ (2) การขอรับใบอนุญาตหรือหนังสอรับรองและการ
ื
้
ก าหนดเงินทุนขั้นต่ าในการประกอบธุรกิจ 9) การกาหนดใหมการถายทอดเทคโนโลยและ 10) การลงทนในภาค
ี
่
ุ
ี
้
ุ
่
บริการ นอกจากนี้ ไทยสงวนสทธิในการปรบเพม แกไข มาตรการในรายการขอสงวนด้านการลงทนของไทยได้ใน
ิ
ิ
ั
้
่
ี
ั
ั
ี
้
ั
ระยะเวลา 2 ปี นบจากวันทความตกลงมผลใช้บังคบกบรายการขอสงวนของไทย โดยมาตรการดังกลาวเป็น
่
มาตรการที่มีอยู่ในวันที่ความตกลงฉบับนี้มีผลใช้บังคับ
ู
3.1.3 (๑) ไทยผกพัน Ratchet โดยจะมีผลผูกพนในอก 5 ปี หลังจากความตกลงมีผลใช้บังคับ
ั
ี
ใน 11 สาขาย่อย อาทิ การผลิตไพ การผลิตบุหรี่ การเพาะพนธุ์เมล็ดหัวหอมใหญ่ การเลี้ยงโค กระบือ ม้า แพะ
ั
่
แกะ ทั้งนี้ หากไม่มีการแก้ไขมาตรการดังกล่าวในอนาคต เท่ากับว่า ไทยได้ผูกพนเท่ากับมาตรการหรือกฎหมาย
ั
ั
ิ่
ู
ั
ปัจจุบันโดยไม่ได้มีการผูกพนเพมขึ้นแต่อย่างใด และ (๒) ไทยผกพน MFN ส าหรับความตกลงที่ไทยจัดท า
ื
ุ
ในอนาคต ใน 3 สาขา คอ การเกษตร (เฉพาะปศสตว์) การผลิต และเหมืองแร่ ทั้งนี้ ไทยไม่ขยายสิทธิ MFN
ั
ี
ส าหรับความตกลงที่ไทยมีอยู่ในปัจจุบัน และความตกลงทไทยจะจดทาในอนาคตในสาขาการเกษตร (ยกเว้นสาขา
่
ั
ปศุสัตว์) ประมง และปาไม้ โดยไม่รวมการใหสทธิประโยชนท่ดกว่าท้งในความตกลงระหว่างประเทศสมาชิก
ี
้
ี
ิ
์
่
ั
อาเซียนด้วยกัน และความตกลงในกรอบอาเซียนทั้งที่มีอยู่ในปัจจุบันและความตกลงในอนาคต