Page 21 - บทสวดธรรมจกร_Neat
P. 21

บทขัดธัมมจักกัปปวัตตนสูตร                                                               ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร



                                   (แปล)                                                                             (แปล)







              พระตถาคตเจ้าได้ตรัสรู้พระอนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณ                                    ข้าพเจ้าได้สดับมาแล้วอย่างนี้ :-

        แล้ว เมื่อจะทรงประกาศธรรมที่ใคร ๆ ยังมิได้ให้เป็นไปใน                                   สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคเจ้าประทับอยู่ ณ ป่าอิสิ-

        โลกให้เป็นไปโดยชอบ ได้ทรงแสดงอนุตตรธรรมจักรใด                                      ปตนมฤคทายวัน ใกล้พระนครพาราณสี ณ ที่นั้นแล พระผู้-

        ก่อน                                                                               มีพระภาคเจ้าตรัสเรียกภิกษุปัญจวัคคีย์มาแล้วตรัสว่า ดูกร


              ส่วนสุด ๒ อย่าง ข้อปฏิบัติอันเป็นสายกลาง และญาณ-                             ภิกษุทั้งหลาย ส่วนสุด ๒ อย่างนี้อันบรรพชิตไม่ควรเสพ คือ


        ปัญญาอันรู้เห็นในอริยสัจทั้ง ๔ อย่างหมดจดที่พระองค์ทรง                                  ๑.  การหมกมุ่นอยู่ด้วยกามสุขในกามทั้งหลาย เป็น

        แสดงไว้ในธรรมจักรใด                                                                ของเลว เป็นของชาวบ้าน เป็นของปุถุชน ไม่ประเสริฐ ไม่


              เราทั้งหลายจงสวดธรรมจักรนั้น ที่พระองค์ผู้เป็นธรรม-                          ประกอบด้วยประโยชน์

        ราชาได้ทรงแสดงแล้ว ปรากฏโดยชื่อว่า ธัมมจักกัป-                                          ๒.  การท�าความเดือดร้อนแก่ตน  เป็นทุกข์  ไม่


        ปวัตตนสูตร อันเป็นพระสูตรที่ประกาศพระสัมมาสัมโพธิ-                                 ประเสริฐ ไม่ประกอบด้วยประโยชน์

        ญาณ อันพระสงฆ์สาวกของพระองค์ได้ร้อยกรองไว้โดยบาลี                                       ข้อปฏิบัติอันเป็นสายกลาง ไม่เข้าไปใกล้ส่วนสุด ๒

        ไวยากรณ์เถิด
                                                                                           อย่างนี้ อันตถาคตได้ตรัสรู้แล้ว เป็นปฏิปทาก่อให้เกิดจักษุ

                                                                                           ก่อให้เกิดญาณ เป็นไปเพื่อสงบระงับ เพื่อความรู้ยิ่ง เพื่อ

                                                                                           การตรัสรู้ เพื่อนิพพาน


        16
   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26