Page 13 - สานพลัง ฉบับ ธันวาคม 2562
P. 13

Right To Health
เร่ือง : พิสิษฐ์ ศรีอัคคโภคิน บ่อเกิดของจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์
 การวจิ ยั ในมนษุ ยม์ มี า ยาวนานคู่กับการพัฒนา การทางด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและการแพทย์ การวิจัยในมนุษย์เป็น สิ่งสําาคัญที่ทําาให้เกิดการ ค้นพบ องค์ความรู้และ เทคโนโลยีที่เป็นประโยชน์ ตอ่ การดาํา รงชวี ติ ของมนษุ ย์ ในดา้ นตา่ งๆแตก่ ระบวนการ วิจัยในมนุษย์ต้องแลกกับ ความเจบ็ ปวดความตายของ อาสาสมัครวิจัย
มลู เหตสุ าํา คญั ทก่ี อ่ ใหเ้ กดิ คาํา ถามทางเชงิ จรยิ ธรรมในระดบั สากล เก่ียวกับการวิจัยในมนุษย์ เร่ิมข้ึนเม่ือช่วงสงครามโลกคร้ังที่ ๒ แพทย์ และนักวิทยาศาสตร์นาซีได้นําาเชลยศึก ตลอดจนประชาชนท่ีมีความ พเิ ศษทางดา้ นรา่ งกาย เชน่ คนแคระ ฝาแฝด หรอื ผพู้ กิ ารทางสตปิ ญั ญา มาศึกษาทดลองทางวิทยาศาสตร์หรือทางการแพทย์ โดยการทดลอง ดังกล่าวส่งผลให้มีผู้เสียชีวิตเป็นจําานวนมาก และหลังจากจบ สงครามโลกครง้ั ท่ี ๒ ศาลอาชญากรสงครามทนี่ เู รมเบริ ก์ กไ็ ดพ้ พิ ากษา ลงโทษแพทย์และเหล่านักวิทยาศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการทดลอง ดังกล่าว โดยคําาพิพากษาดังกล่าวได้พัฒนามาเป็น กฎนูเรมเบิร์ก (Nuremberg Code 1947) ซ่ึงถือเป็นหลักจริยธรรมสากลท่ีเก่ียวข้อง กับการวิจัยในมนุษย์อย่างเป็นทางการฉบับแรกของโลก
สําาหรับพระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๐ ก็ได้นําา หลักการในกฎบัตรดังกล่าว มาบัญญัติเป็นกฎหมายท่ีเกี่ยวข้องกับ การวจิ ยั ในมนษุ ยซ์ งึ่ กค็ อื มาตรา ๙ ทไี่ ดบ้ ญั ญตั วิ า่ ในกรณที ผี่ ปู้ ระกอบ วิชาชีพด้านสาธารณสุขประสงค์จะใช้ผู้รับบริการเป็นส่วนหนึ่งของ การทดลองในงานวิจัย ผู้ประกอบวิชาชีพด้านสาธารณสุขต้องแจ้งให้ ผู้รับบริการทราบล่วงหน้า และต้องได้รับความยินยอมเป็นหนังสือ จากผู้รับบริการก่อนจึงจะดําาเนินการได้ ความยินยอมดังกล่าว ผู้รับ บริการจะเพิกถอนเสียเมื่อใดก็ได้
  ฉบับ ๑๑๒ : ธันวาคม ๒๕๖๒
๑๓ 13




























































































   11   12   13   14   15