Page 12 - Pathumwan
P. 12
4
กกกกกกก2. บทที่ 2 ประวัติท้าวมหาพรหมบรมเทพเขตปทุมวัน
2.1 ศาลท้าวมหาพรหมตั้งอยู่บริเวณหน้าโรงแรมแกรนด์ ไฮแอท เอราวัณ ในปัจจุบัน
ก่อสร้างขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2499 ในระหว่างก่อสร้างโรมแรมเอราวัณ ตามค าแนะน าของหลวง สุวิชาน
แพทย์ ผู้เชี่ยวชาญด้านโหราศาสตร์ เพื่อขจัดปัญหาในการก่อสร้างโรงแรมที่ไม่ราบรื่น ท้าวมหาพรหม
เอราวัณเป็นที่เคารพบูชาของคนทั่วไปทั้งชาวไทยและต่างประเทศ โดยเฉพาะชาวฮ่องกงจะให้ความ
เคารพนับถือเป็นพิเศษ เนื่องจากเชื่อว่า เมื่อบูชาแล้วจะน าโชคลาภ ความส าเร็จมาให้ ต่อมาในปี พ.ศ.
2549 รูปปั้นองค์ท้าวมหาพรหมถูกคนร้ายทุบเสียหายเกือบทั้งองค์ แต่ส านักช่างสิบหมู่ก็สามารถ
บูรณะให้คงสภาพเดิมได้ และในปี พ.ศ. 2558 เกิดเหตุระเบิดขึ้นบริเวณศาลท้าวมหาพรหมเอราวัณ
รูปปั้นองค์ท้าวมหาพรหมได้รับความเสียหายจากแรงระเบิด บริเวณใต้คาง สังวาลย์ หน้าแข้ง บริเวณ
นิ้วมือข้างขวา กรมศิลปากรโดย ส านักงานสิบหมู่ได้ด าเนินการบูรณะซ่อมแซมให้กลับมาสภาพ
สมบูรณ์ดังเดิมได้
กกกกกกก3. บทที่ 3 แผนที่ สถานที่ตั้ง และการเดินทางไปสักการะท้าวมหาพรหมรมเทพเขต
ปทุมวัน
3.1 สถานที่ตั้ง ท้าวมหาพรหมบรมเทพเขตปทุมวัน ตั้งอยู่บริเวณสี่แยกราชประสงค์
และการเดินทางไปสักการะท้าวมหาพรหมบรมเทพเขตปทุมวัน สามารถเดินทางด้วยรถโดยสาร
ประจ าทาง หรือรถแท็กชี่รับจ้าง หรือรถระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพ จ ากัด (มหาชน) (BTS) หรือการ
เดินทางด้วยเรือโดยสาร ขึ้นที่ท่าเรือประตูน้ า หรือพาหนะส่วนบุคคล
กกกกกกก4. บทที่ 4 ความส าคัญของท้าวมหาพรหมบรมเทพเขตปทุมวัน
4.1 วัฒนธรรม ประเพณี หมายถึงสิ่งที่ท าความเจริญงอกงาม ทางด้านการศึกษา
ปัญญา ศาสนา จรรยา ศิลปะ วัฒนธรรม ความรู้สึก ความคิดเห็น ความประพฤติ กิริยาอาการ ความ
เชื่อ วิถีการด าเนินชีวิต ภูมิปัญญาที่คนรุ่นก่อนคิดสร้างสรรค์ ที่สั่งสมปฏิบัติสืบต่อกันมา และ
พัฒนาขึ้นจากเดิมผ่านกระบวนการเรียนรู้ ท าให้คนในสังคมสามารถอยู่ได้อย่างมีความสุข โดย
วัฒนธรรมต่าง ๆ นั้นสามารถปรับปรุงเปลี่ยนแปลงได้ เพื่อให้สอดคล้องกับกาลสมัย
4.2 เศรษฐกิจ ในบริเวณราชประสงค์ เขตปทุมวัน เป็นแหล่งท่องเที่ยวและความส าคัญ
ทางเศรษฐกิจของประเทศ มีชาวต่างชาติเดินทางมาสักการะพระพรหมเอราวัณอย่างต่อเนื่อง ท าให้
พื้นที่นี้มีเศรษฐกิจดีสามารถสร้างรายได้ให้ประเทศไทย มีสถานประกอบการ และห้างร้านต่าง ๆ
เกิดขึ้นมากมาย
4.3 การท่องเที่ยว บริเวณราชประสงค์เป็นแหล่ง “การท่องเที่ยวแสวงบุญ” (Spirtual
Tourism) ของนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ เช่น ชาวจีน ชาวมาเลเซีย ชาวเวียดนาม และชาวฮ่องกงซึ่ง
นับถือบูชาพระพรหม ชาวต่างชาติมาประเทศไทย และไม่ได้มาสักการะพระพรหมเอราวัณ ก็เหมือน