Page 48 - Bang Born
P. 48

41







                       มหานิกาย มีเนื้อที่ 18 ไร่ อาคารเสนาสนะประกอบด้วย อุโบสถ สร้างเมื่อ พ.ศ. 2511 เป็นอาคาร
                       คอนกรีตเสริมเหล็ก หอสวดมนต์ สร้างเมือ พ.ศ.2540 เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก กุฏิสงฆ์ อาคาร


                       คอนกรีตเสริมเหล็ก 6 หลัง วิหาร สร้างเมื่อ พ.ศ.2459 เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก ศาลา
                       อเนกประสงค์  สร้างเมื่อ พ.ศ.2535 เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก ศาลาบ าเพ็ญกุศล จ านวน 2 หลัง


                       เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก นอกจากนี้ยังมีหอระฆัง 1 หลัง โรงครัว  1 หลัง และกุฏิเจ้าอาวาส 1
                       หลังและปัจจุบันพระครูปรีชาวุฒิกร (มาโนช วชิรวุโธ) เป็นเจ้าอาวาส   วัดบางบอนและเจ้าคณะแขวง


                       บางบอนในปัจจุบัน

                               กล่าวโดยสรุป ก่อนปี พ.ศ. 2453 ท้องที่ในแขวงบางบอนใต้ ไม่มีวัด มีแต่ชาวบ้านที่นับถือ

                       ศาสนาพุทธศาสนาเนื่องจากวัดเป็นศูนย์กลางของสังคมไทย ที่นับถือพระพุทธศาสนามาตั้งแต่อดีต

                       เป็นเหตุให้ชาวบางบอนใต้ประสบปัญหามาก เมื่อจะบ าเพ็ญกุศลที่เกี่ยวข้องกับพระภิกษุสงฆ์  ทั้งใน

                       ยามปกติ และยามเทศกาล  เป็นเหตุให้ชาวบางบอนใต้ประสงค์ให้มีวัด ขณะนั้นน าโดยปู่เฉย ย่ากัน

                       เปียธัญญา ได้บริจาคที่ดิน ซึ่งเคยเป็นที่ตั้งบ้านเรือนเดิมของตน (ที่ตั้งวัดบางบอนในปัจจุบัน) มีเนื้อที่

                       ประมาณ 3 ไร่เศษให้สร้างเป็นวัดอุทิศไว้ในพระพุทธศาสนา พร้อมได้ถวายเรือนอีก 2 หลัง ให้รื้อไป

                       สร้างเป็นกุฏิที่พ านักสงฆ์ โดยได้นิมนต์ พระสมุห์เจริญ  อุปติสโส จากวัดอัปสรสวรรค์ (วัดหมู) เป็น

                       ผู้ด าเนินการก่อสร้าง และได้ตั้งชื่อส านักสงฆ์นี้ว่า “วัดใหม่ตาเฉย บางบอนใต้” มีเนื้อที่ประมาณ 3 ไร่เศษ

                       ใช้เป็นสถานที่ศูนย์กลางยึดเหนี่ยวจิตใจ และประกอบพิธีกรรมทางศาสนาของพระภิกษุสงฆ์ให้กับ

                       ประชาชนแขวงบางบอนใต้

                                 2.  ความส าคัญของวัดบางบอน

                                 2.  วัดบางบอนมีหลวงพ่อเกษรเป็นศูนย์รวมทางจิตใจของคนในชุมชนบางบอนที่นับถือ

                       ศาสนาพุทธ ประกอบพิธีกรรมทางพระพุทธศาสนา ศูนย์กลางศิลปะและวัฒนธรรมของชาวบางบอน วัดเป็น

                       ที่รวมศิลปกรรมต่าง ๆ เสมือนพิพิธภัณฑ์ เป็นคลังพัสดุส าหรับเก็บของใช้ต่าง ๆ เพื่อให้ชาวบางบอนได้ยืม

                       เครื่องใช้ในงานต่าง ๆ เช่น งานแต่งงาน งานท าบุญขึ้นบ้านใหม่ งานศพ เป็นต้น ทั้งยังให้สถานที่พ่อค้า

                       แม่ขายที่มีอาชีพค้าขาย ได้มีที่ขายของเพื่อหามีรายได้มาเลี้ยงชีพ นอกจากนี้ยังเป็นสถานที่ส าหรับจัดงาน

                       สาธารณประโยชน์ ทั้งที่ยังให้บริเวณวัดสร้างโรงเรียนวัดบางบอน และวันส าคัญทางพุทธศาสนาในเขต

                       บางบอน เช่น ประเพณีเข้าพรรษาประเพณีตักบาตรเทโว ประเพณีลอยกระทง  เป็นต้น ทั้งยังเป็น

                       สถานที่จัดงานส าคัญ ๆ ของทางราชการ เช่น วางดอกไม้จันท์ถวายเพลิงพระบรมศพของในหลวงรัชกาลที่ 9
   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53