Page 90 - Bang Born
P. 90

83







                                      ขอ 3  หองสมุด และแหลงรวบรวมเอกสารทางประวัติศาสตร เชน หองสมุด

                       ประชาชน หอสมุดแหงชาติ หอจดหมายเหตุแหงชาติ อนึ่ง เนื่องจากทองถิ่นแตละแหงมีประวัติความ

                       เปนมาแตกตางกัน บางแหงมีความสําคัญในอดีตตั้งแตสมัยสุโขทัย ตอเนื่องมาถึงสมัยอยุธยา ธนบุรี

                       และรัตนโกสินทร จึงอาจมีเรื่องราวบันทึกไวในเอกสารโบราณ เชน ศิลาจารึก พงศาวดาร ใบบอก

                       เอกสารของชาวตาวชาติที่เดินทางเขามาในประเทศไทยในชวงเวลาตาง ๆ  แตบางทองถิ่นเปนชุมชนที่

                       พัฒนาขึ้นในสมัยกรุงรัตนโกสินทร หรือในชวงเวลาไมยาวนานนักจึงสามารถสืบคนขอมูลจากเอกสาร

                       รวมสมัย เชน จดหมายหรือบันทึกสวนบุคคล หนังสือพิมพ ภาพถาย แผนที่ ดังนั้น การศึกษาเรื่องราว

                       แตละทองถิ่นจึงอาจใชขอมูลและหลักฐานแตกตางกัน อยางไรก็ตามหลักฐานตาง ๆ  ที่ใชในการ

                       สืบคนขอมูลของทองถิ่น แมจะมีอายุเกาแกแตกตางกัน แตลวนมีความสําคัญและชวยใหผูศึกษาเขาใจ

                       ภาพรวมของเหตุการณในทองถิ่นที่ตองการศึกษาไดดียิ่งขึ้น

                                      เมื่อผูศึกษาสามารถรวบรวมขอมูลจากหลักฐานตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับประเด็นศึกษา

                       ของตนไดครบถวนแลว ผูศึกษาตองคัดเลือกขอมูลที่เกี่ยวของโดยการแยกแยะเปนหัวขอเรื่องตาง ๆ

                       หรือบันทึกเรียงตามลําดับเหตุการณกอน - หลัง (time - line) โดยระบุแหลงขอมูลหลักฐานใหชัดเจน

                       เพื่อใหสามารถอางอิงหรืออธิบายสิ่งที่เกิดขึ้นในอดีตไดอยางมีเหตุผล

                                      สืบคนและรวบรวมขอมูล คือ การรวบรวมขอมูลหลักฐานที่เกี่ยวของกับหัวขอที่จะ

                       ศึกษา ทั้งหลักฐานที่เปนลายลักษณอักษรและไมเปนลายลักษณอักษร

                                      สืบคนและรวบรวมขอมูล ผูศึกษาตองทราบวาแตประเภทมีความสําคัญแตกตางกัน

                       กลาวคือ หลักฐานขั้นตนมีความสําคัญและมีความนาเชื่อถือมากกวาหลักฐานชั้นลอง แตหลักฐาน

                       ชั้นรองก็จะเปนตัวชวยอธิบายเรื่องราวใหเขาใจงายกวาหลักฐานชั้นตน ดังนั้น การรวบรวมหลักฐานจึง

                       ควรเริ่มจากหลักฐานชั้นรอง แลวจึงศึกษาหลักฐานชั้นตน ถาเปนหลักฐานที่ไมเปนลายลักษณอักษรก็

                       ควรเริ่มจาการศึกษาผลงานของนักวิชาการที่เชียวชาญกอนที่ไปศึกษาจากสถานที่จริงหรือของจริง
   85   86   87   88   89   90   91   92   93   94   95