Page 67 - รายงานความก้าวหน้าผลการดำเนินงาน คกก.พัฒนาเศรษฐกิจพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (ปี 2561)
P. 67
หน้า 54
2) โครงการพัฒนาและยกระดับตลาดผ้าบ้านนาข่าสู่การเป็น Smart Market เพื่อรองรับ การเป็น
ศูนย์กลางตลาดผ้าในอนุภูมิภาคลุ่มน้ าโขง
3) โครงการเพิ่มประสิทธิภาพศูนย์การเรียนรู้และออกแบบสร้างสรรค์ผ้าทอมือลุ่มน้ าโขง เพื่อ
ส่งเสริมการเป็นศูนย์กลางผ้าทอมือลุ่มน้ าโขงของกลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
4) โครงการส่งเสริมการผลิตผ้าไหมและผ้าพื้นเมืองประกอบด้วย การค้นหาอัตลักษณ์ผ้าทอเมือง
ลุ่มภู ยกระดับผ้าทอเมืองลุ่มภู การจัดสร้าง“วิชชาลัยผ้าทอเมืองลุ่มภู” ส่งเสริมการตลาดและจับคู่เจรจา
ธุรกิจ และการตีแผ่ประชาสัมพันธ์และสร้างภาพลักษณ์ผ้าทอเมืองลุ่มภู
5) การขับเคลื่อนการพัฒนาทางเศรษฐกิจและสังคมของกลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ตอนบน 1 เพื่อพัฒนาต่อเนื่องจากการด าเนินการตามมติคณะรัฐมนตรีซึ่งส่วนราชการ/หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ได้พัฒนาไปบางส่วนแล้ว ประกอบด้วย 2 กิจกรรม ดังนี้
5.1) ขอให้ผู้ประกอบการในนิคมอุตสาหกรรมได้รับสิทธิประโยชน์มากกว่า หรือเท่ากับ
ผู้ประกอบการในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษชายแดน เนื่องจากมีความพร้อมด้านการลงทุนและการ
ดาเนินการของเอกชนในพื้นที่ และอยู่ห่างจากชายแดนเป็นระยะทางเพียง 53 กิโลเมตร
5.2) เสนอให้มีการส ารวจและศึกษาเพื่อก่อสร้างถนน Local Road เชื่อมต่อจากถนนเลียบทาง
รถไฟหนองตะไก้ จนถึงใจกลางเมืองอุดรธานี (UD Town) ระยะทาง 16 กิโลเมตร ซึ่งได้ก่อสร้าง
ระยะแรกเสร็จไปแล้ว 1 กิโลเมตร เพื่อเพิ่มเส้นทางสัญจรและรองรับการเติบโตของชุมชนรอบนิคม
ฯ ในอนาคต
ข้อสั่งการ :
1) ให้ กษ. อก. พณ ศษ วท. และภาครัฐและเอกชน พิจารณาในรายละเอียดโครงการพัฒนาเกษตร
ครบวงจรในพื้นที่ที่มีศักยภาพ โดยค านึงการใช้ประโยชน์จากหน่วยงานภาครัฐที่มีอยู่มีส่วนร่วมทุกขั้นตอน
โดยให้สอดคล้องกับกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
2) ให้ มท.ร่วมกับ กษ. อต. พณ ศษ วท. สถาบันการศึกษาในพื้นที่ หน่วยงานภาครัฐและเอกชน
พิจารณาด าเนินโครงการ และหากโครงการมีความจ าเป็นเร่งด่วนและความพร้อม ให้ ก.มหาดไทย ประสาน
ส านักงบประมาณ พิจารณาปรับแผนการปฏิบัติงานและแผนการใช้จ่ายงบประมาณประจ าปีงบประมาณ
62 มาด าเนินการโดยด่วน
3) มอบ อก. ร่วมกับ กษ. พณ. วท. และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง พิจารณาโครงการ จัดสร้าง “วิชชา
ลัยผ้าทอเมืองลุ่มภู” ส่งเสริมการจับคู่ธุรกิจ และประชาสัมพันธ์
4) และให้BOI ร่วมกับ สศช. อก. พณ. และหน่วยงานภาครัฐและเอกชนที่เกี่ยวข้องพิจารณาการ
ขอให้ผู้ประกอบการในนิคมอุตสาหกรรมอุดรธานี ได้รับสิทธิประโยชน์มากกว่าหรือเท่ากับผู้ประกอบการใน