Page 17 - รวมเล่ม
P. 17
6
2.1 ทฤษฎีเกี่ยวกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-Book) เป็นค ำภำษำต่ำงประเทศ ย่อมำจำกค ำว่ำ Electronic Book
หมำยถึง หนังสือที่สร้ำงขึ้นด้วยโปรแกรม คอมพิวเตอร์มีลักษณะเป็นเอกสำรอิเล็กทรอนิกส์โดยปกติ
มักจะเป็นแฟ้มข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่ สำมำรถอ่ำนเอกสำรผ่ำนทำงหน้ำจอคอมพิวเตอร์ทั้งในระบบ
ออฟไลน์และออนไลน์คุณลักษณะของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์สำมำรถเชื่อมโยงจุดไปยังส่วนต่ำงๆ ของ
หนังสือ เว็บไซต์ต่ำงๆ ตลอดจนมีปฏิสัมพันธ์และโต้ตอบกับผู้เรียนได้นอกจำกนั้นหนังสือ
อิเล็กทรอนิกส์สำมำรถแทรก ภำพ เสียง ภำพเคลื่อนไหวแบบทดสอบ และสำมำรถสั่งพิมพ์เอกสำรที่
ต้องกำรออกทำงเครื่องพิมพ์ ได้อีกประกำรหนึ่งที่ส ำคัญก็คือ หนังสืออิเล็กทรอนิกส์สำมำรถปรับปรุง
ข้อมูลให้ทันสมัยได้ ตลอดเวลำ ซึ่งคุณสมบัติเหล่ำนี้จะไม่มีในหนังสือธรรมดำทั่วไป
ภำพที่ 2.1 แสดงภำพตัวอย่ำงหนังสือ E-Book
ที่มำ : Bookprinting, 2562
เอกสำรอิเล็กทอนิกส์สำมำรถน ำเสนอข้อมูลได้ทั้งข้อควำม ภำพนิ่ง ภำพเคลื่อนไหว และเสียง
ต่ำงๆ โดยไม่จ ำกัดว่ำจะเป็นข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ในรูปแบบใด หำกเป็นกำรเชื่อมโยง ข้อควำมที่เป็น
ตัวอักษรหรือตัวเลข เรียกว่ำ ไฮเปอร์เท็กซ์ แต่ถ้ำหำกข้อมูลนั้นรวมถึงรูปภำพ เสียง และ
ภำพเคลื่อนไหวด้วยก็เรียกว่ำ สื่อประสมไฮเปอร์มีเดีย (ปิลันธนำ สงวนบุญญพงษ์, 2552)
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้เรียนจำกเครื่องคอมพิวเตอร์เป็นสิ่งที่เกิดขึ้น
ใหม่ ในวงกำรศึกษำเพื่อสนองควำมต้องกำรมนุษย์ที่จะน ำสื่อเข้ำไปบรรจุในรูปแบบดิจิทัลทั้งนี้ เพื่อลด
ข้อจ ำกัดจำกกำรอ่ำนหนังสือปกติทั่วไปบทบำทของผู้สอนที่มีกำรเปลี่ยนแปลงไปเน้น หนักทำงด้ำน
กำรใฝ่หำควำมรู้ควำมเข้ำใจ และควำมสำมำรถวิธีสอนที่หลำกหลำยตำมสภำพ เศรษฐกิจและสังคมได้
อย่ำงกว้ำงขวำง (เสำวลักษณ์ ญำณสมบัติ, 2553)