Page 155 - ตำนานการสวดพระมาลัย
P. 155
๑๔๙
การสัมภาษณ์เรื่องพระมาลัย (คุณลุงสมจิต จ าปาเงิน)
ผู้สัมภาษณ์ : วันนี้ผมจะมาสัมภาษณ์ “เรื่อง พระมาลัย” นะครับ คุณลุงครับ สวัสดีครับ
คุณลุงครับช่วยแนะน าตัวหน่อยครับ
ลุงสมจิต : ลุงชื่อ สมจิต จ าปาเงิน
ิ
ผู้สัมภาษณ์ : ครับ สวัสดีครับ คุณลุงครับ คุณลุงสมจิต ผมอยากจะถามว่า ประวัต
เป็นมาของพระมาลัยเนี่ยมีความเป็นมาอย่างไรครับ
ลุงสมจิต : มีตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา มีการด ารัสมาตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ ๔ เมื่อก่อน
เขาสวดกล่อมหอ “ งานแต่ง” ขับเสภางานแต่ง แล้วต่อมาก็ได้มาดัดแปลง
สวดในงานศพอยู่เป็นเพื่อนเจ้าภาพไม่ให้เงียบ ไม่ให้เศร้าโศก เขาไม่เศร้า
์
ไม่โศก คนตายจะไดไม่เป็นทุกข
้
ผู้สัมภาษณ์ : แล้วเขาสวดท าไมครับ?
ลุงสมจิต : สวดให้คนตาย ส่งดวงวิญญาณให้มารับผลบุญไปให้ไปเกิดภพใหม่
เหมือนบอกทางให้เขา
ผู้สัมภาษณ์ : ชี้ทางให้เขา?
ลุงสมจิต : เออใช่! ชี้ทางให้เข้เวลาจะสวดก็ต้องจุดธูปบอกเล่าเขาให้เขามาฟง
ั
พระมาลัยเป็นครั้งสุดท้าย
ี
ผู้สัมภาษณ์ : ครับ แล้วธรรมเนียมการสวดมันมอะไรบ้าง ต้องยกครูก่อนไหม?
ิ่
ลุงสมจิต : ก็เนี่ยไหว้ครู พวกครูกลอง ครูฉง ครูฉาบ ครูกรับ ที่เราเล่นเนี่ย เราต้องรับท า
ขันธ์ ๕ ให้เขา
ผู้สัมภาษณ์ : ครับ แล้วท านองส่วนใหญ่ที่ใช้ในการสวดเขาใช้ท านองอะไรครับ?
ลุงสมจิต : ก็เป็นเพลงเถา เป็นเพลงพวกปี่พาทย์มอญ เขารับได้เนี่ย ในเนื้อหาในนี้ เขาเล่น
ได้หมด เขาเรียกเพลงเถา
ผู้สัมภาษณ์ : ลักษณ์การประพันธ์เป็นยังไง
ลุงสมจิต : เน้นใช้ไหม!
ผู้สัมภาษณ์ : ครับ แต่งเป็นกลอนหรืออะไรประมาณนี้ครับ
้
ลุงสมจิต : เป็นเนื้อหาเพลงพวกกลอนบ้างแหล่บ้างประมาณนี้เป็นเพลงแหล่ แหล่ไดหมด