Page 12 - localnewnew
P. 12

การเรียนการสอนในกลุํมสาระการเรียนรู๎วิทยาศาสตร์ในชั้นเรียนโดยการอธิบายประกอบ

             รูปภาพเพียงอยํางเดียวก็อาจจะท าให๎นักเรียนไมํสนใจ ไมํสอดคล๎องกับธรรมชาติของวิชา และ
             จะท าให๎นักเรียนไมํเข๎าใจถึงจุดประสงค์การเรียนอยํางแท๎จริง นักเรียนอาจทํองจ าแตํทฤษฎีหรือ

             ข๎อสรุปตํางๆ โดยไมํเห็นถึงความส าคัญ และประโยชน์ของสิ่งที่นักเรียนก าลังเรียนอยูํ  อีกทั้ง

             ปัจจุบันแหลํงเรียนรู๎ตํางๆ มีเพิ่มขึ้นมามากมาย การเรียนจึงไมํจ ากัดอยูํแคํในห๎องเรียน ประกอบ

             กับการจัดการศึกษาที่เน๎นการกระบวนการ Active Learning ให๎ผู๎เรียนได๎เรียนรู๎ผําน
             กระบวนการที่สร๎างสรรค์ อยํางสนุกสนาน นอกจากนี้ในการจัดการเรียนรู๎ผู๎เรียนควรได๎รับการ

             พัฒนาทักษะด๎านการคิดวิเคราะห์ ซึ่งห๎องศูนย์วิทยาศาสตร์ปฏิบัติการ สามารถตอบโจทย์การ

             เรียนรู๎ในกลุํมสาระการเรียนรู๎วิทยาศาสตร์ได๎






                       ศูนย์วิทยาศาสตร์ปฏิบัติการ จะไมํมีครูมาคอยสอน ไมํมีข๎อมูลอธิบายวําเครื่องมืออยูํ

                 ตรงหน๎านั้นมีไว๎ท าอะไร ผู๎เข๎าชมจะได๎เห็นสถานีทดลองกํอนและเจอค าถามกระตุกให๎คิด

                 แตํไมํบอกวําต๎องท าอะไรบ๎าง ซึ่งผู๎ชมจะได๎เรียนรู๎เอง โดยไมํต๎องบอกให๎ท าอะไรสิ่งผู๎เรียน

                 เดินเข๎าไปในศูนย์แหํงนี้ต๎องคือ “ทดลองเลํน” เมื่อสนุกสนานจนพอใจแล๎วก็บ๎านไปหา
                 ค าตอบวํา ท าไมมันเป็นเชํนนั้น? เครื่องเลํนเหลํานั้นเป็นสถานีทดลองให๎เราได๎เรียนรู๎

                 วิทยาศาสตร์ด๎วยการลงมือท า และไมํมีค าอธิบายวําสิ่งที่ได๎สัมผัสนั้นเป็นเพราะอะไร นี่คือ

                 วิถีการเรียนรู๎แบบ “แฮนด์-ออน” ซึ่งได๎ถํายทอดจากเยอรมนีมาสูํเมืองไทย














    โรงเรียนเทศบาลวัดเชียงยืน
   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17