Page 5 - พวงมโหตร
P. 5
บทนำ�
พวงมโหตร อ่�นว่� พวง-มะ-โหด มีคว�มหม�ยต�ม
พจน�นุกรมฉบับร�ชบัณฑิตยสถ�น พ.ศ. 2542 ว่� พวงอุบะ
ซึ่งห้อยประดับอยู่ที่คันด�ลฉัตร ทำ�ด้วยผ้�ต�ดทอง, ลูกพวง
มโหตร ก็ว่�
พวงมโหตร อ�จเรียกได้ว่�เป็นง�นช่�งหรือง�นฝีมือ
อีกประเภทหนึ่งที่มีก�รสั่งสมและถ่�ยทอดภูมิปัญญ�ไทยสู่
ลูกหล�นภ�ยในท้องถิ่น จึงพบว่�ในแต่ละท้องที่มีชื่อเรียก
ที่แตกต่�งกันออกไป ที่จังหวัดกำ�แพงเพชร จังหวัดน่�น
จังหวัดแพร่ จังหวัดเชียงใหม่ เรียกว่� ‘ตุงพญ�ลอ หรือ
ตุงไส้หมู’ จังหวัดระยอง จังหวัดนครสวรรค์ เรียกว่� ‘พวง
เต่�รั้ง พวงเต่�ร้�ง พวงรั้ง เต่�รั้ง’ จังหวัดอุดรธ�นี จังหวัดเลย
เรียกว่� ‘พวงม�ลัย’ จังหวัดอุตรดิตถ์ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
จังหวัดเพชรบุรี จังหวัดชัยน�ท จังหวัดสุพรรณบุรี จังหวัด
อ่�งทอง จังหวัดพระนครศรีอยุธย� เรียกว่� ‘พวงระย้� หรือ
พวงมโหตร’
พวงมโหตรนี้พบเห็นได้บ่อยต�มต่�งจังหวัด เมื่อมีก�ร
จัดง�นมงคลหรือง�นรื่นเริงต�มเทศก�ลต่�งๆ ทั้งที่บ้�นและ
ที่วัด แต่ปัจจุบันในกรุงเทพฯ ก็ห�ดูได้ไม่ย�กนัก ทั้งที่ตัดจ�ก
กระด�ษแก้ว กระด�ษส� หรือแม้แต่กระด�ษจ�กนิตยส�ร
ก็มีปร�กฏให้เห็น อ�จเป็นเพร�ะว่�หล�ยหน่วยง�นได้มีก�ร
รณรงค์ให้เห็นถึงคว�มสำ�คัญและคุณค่�ของภูมิปัญญ�ไทย
ม�กขึ้น ซึ่งถือเป็นเรื่องดีสำ�หรับอน�คตของศิลปวัฒนธรรม
ไทย ที่จะไม่ถูกแทรกแซงจ�กวัฒนธรรมต่�งช�ติจนหมด