Page 25 - ท่องโลกประวัติศาสตร์สากล
P. 25

สถาปัตยกรรม  เมืองปักกิ่ง สร้างในสมัยราชวงศ์หงวน โดยกุบไลข่าน ซึ่งได้รับการยกย่องทางด้านการ  เกี่ยวข้องกับประวัติศาสตร์อินเดียตลอดมา เพราะเส้นทางนี้เป็นทางผ่านของกองทัพของผู้รุกราน

      วางผังเมือง ส่วนพระราชวังปักกิ่งสร้างในสมัยราชวงศ์เหม็ง                          และพ่อค้าจากเอเชียกลาง อัฟกานิสถานเข้าสู่อินเดีย เพราะเดินทางได้สะดวก

      วรรณกรรม

      สามก๊ก สันนิษฐานว่าเขียนในคริสต์ศตวรรษที่ 14 เป็นเรื่องราวของความแตกแยกในจีนตั้งแต่ปลายสมัย

      ราชวงศจิ๋นจนถึงราชวงศ์ฮั่น

      ซ้องกั๋ง เป็นเรื่องประท้วงสังคม เรื่องราวความทุกข์ของผู้คนในมือชนชั้นผู้ปกครอง สะท้อนความทุกข์ของชาว

      จีนภายใต้การปกครองของพวกมองโกล

      ไซอิ๋ว เป็นเรื่องราวการเดินทางไปน าพระสูตรจากสวรรค์ทางตะวันตกมายังประเทศจีน

      จินผิงเหมย หรือดอกบัวทอง แต่งขึ้นในราวคริสต์ศตวรรษที่ 16-17 เป็นนิยายเกี่ยวกับสังคมและชีวิต

      ครอบครัว เป็นเรื่องของชีวิตที่ร่ ารวย มีอ านาจขึ้นมาด้วยเล่ห์เหลี่ยม แต่ด้วยการท าชั่วและผิดศีลธรรมใน

      ที่สุดต้องด้รับกรรม

      2. อารยธรรมลุ่มแม่น้ าสินธุ

      ปัจจัยทางภูมิศาสตร์ที่มีอิทธิพลต่ออารยธรรมลุ่มแม่น้ าสินธุ

      เป็นแหล่งอารยธรรมเริ่มแรกของอินเดีย อยู่บริเวณดินแดนภาคตะวันตกของอินเดีย (ปากีสถานใน

      ปัจจุบัน) ที่แม่น้ าสินธุไหลผ่าน อาณาเขตลุ่มแม่น้ าสินธุครอบคลุมบริเวณกว้างกว่าลุ่มแม่น้ าไนล์แห่งอิยิปต์

      โดยทุกๆปีกระแสน้ าได้ไหลท่วมท้นฝั่งท าให้ดินแดนลุ่มน้ าสินธุอุดมสมบูรณ์เหมาะแก่การท ากสิกรรม นัก  การตั้งถิ่นฐานและเผ่าพันธุ์

      ประวัติศาสตร์บางคนเรียกอารยธรรมในดินแดนนี้ว่า วัฒนธรรมฮารัปปา ซึ่งเป็นชื่อเมืองโบราณที่ตั้งอยู่  1. สมัยก่อนประวัติศาสตร์ พบหลักฐานเป็นซากเมืองโบราณ 2 แห่งในบริเวณลุ่มแม่น้ า

      บริเวณลุ่มน้ าสินธุเมื่อประมาณ 3,500 –  1,000 ปี ก่อนพุทธศักราชจากภูมิประเทศของอินเดียที่มี  สินธุ คือ

      ลักษณะเป็นรูปสามเหลี่ยมขนาดใหญ่ มีเทือกเขาหิมาลัยกั้นอยู่ทางตอนเหนือ มีเทือกเขาฮินดูกูชอยู่  1.1 เมืองโมเฮนโจ – ดาโร ทางตอนใต้ของประเทศปากีสถาน

      ทางด้านตะวันตกเฉียงเหนือ ทางด้านตะวันตกติดกับทะเลอาหรับ ส่วนทางตะวันออกติดกับมหาสมุทร  1.2 เมืองฮารับปา ในแคว้นปันจาป ประเทศปากีสถานในปัจจุบัน

      อินเดียไปจนถึงอ่าวเบงกอล ดังนั้น ผู้ที่เดินทางบกเข้ามายังบริเวณนี้ในสมัยโบราณต้องผ่านช่องเขา                                                21

      ทางด้านตะวันตกที่เรียกว่า ช่องเขาไคเบอร์ ซึ่งเป็นหนทางเดียวที่จะเข้าสู่อินเดียในสมัยโบราณ ช่องเขานี้
   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30