Page 37 - tinnapop
P. 37

วิกฤตการณ์สิ่งแวดล้อม

    เอลนีโญ - ลานีญา

    เอลนีโญ เป็นค าในภาษาสเปนแปลว่า บุตรพระคริสต์  เป็นปรากฏการณ์ธรรมชาติที่ปฏิสัมพันธ์ระหว่างการ

    หมุนเวียนของกระแสอากาศกับกระแสน้ าในมหาสมุทร  มักเกิดขึ้นในช่วงเทศกาลคริสต์มาส เมื่อกระแสน้ าอุ่นใน

    มหาสมุทรแปซิฟิกไหลเข้าแทนที่กระแสน้ าเย็นบริเวณชายฝั่งเปรู ส่งผลกระทบทางระบบนิเวศและห่วงโซ่อาหาร  ฝูง

    ปลามีจ านวนลดลง ท าให้นกชายฝั่งขาดอาหาร ชาวประมงขาดรายได้ รวมทั้งเกิดฝนตกและดินถล่มอย่างรุนแรงใน

    ประเทศเปรูและเอกวาดอร์   อย่างไรก็ตามเอลนีโญเป็นปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นอย่างไม่มีคาบเวลาที่แน่นอน ไม่ได้
                                                                                                                   สภาวะปกติ
    เกิดขึ้นทุกปี ขณะที่เกิดขึ้นแต่ละครั้งอาจกินเวลา 2 - 3 เดือนหรือนานกว่า  เอลนีโญจึงมีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการ

    ว่า “El Niño – Southern Oscillation” เรียกอย่างสั้นว่า "ENSO"  หมายถึงความผันผวนซึ่งเกิดขึ้นบริเวณ

    มหาสมุทรแปซิฟิกตอนใต้ เราอาจกล่าวอย่างง่ายว่า เอลนีโญท าให้เกิดฝนตกหนักในตอนเหนือของทวีปอเมริกาใต้  สภาวะปกติ

    และเกิดความแห้งแล้งในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้  ในทางกลับกันลานีญาท าให้เกิดความแห้งแล้งทางตอนเหนือของ  โดยปกติบริเวณเส้นศูนย์สูตร เหนือมหาสมุทรแปซิฟิก  ลมสินค้าตะวันออก (Eastery

    ทวีปอเมริกาใต้และเกิดฝนตกหนักในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ทั้งเอลนีโญและลานีญาเกิดจากความผกผันของกระแส  trade winds) จะพัดจากประเทศเปรูชายฝั่งทวีปอเมริกาใต้ ไปทางตะวันตกของ

    อากาศโลกบริเวณเส้นศูนย์สูตรเหนือมหาสมุทรแปซิฟิก ซึ่งยังไม่สามารถระบุสาเหตุที่แน่ชัด  ภาพถ่ายจากดาวเทียม  มหาสมุทรแปซิฟิก แล้วยกตัวขึ้นบริเวณประเทศอินโดนีเซีย ท าให้มีฝนตกมากใน

    โทเพกซ์/โพซีดอน (Topex/Poseidon) ในภาพที่ 4 แสดงให้เห็นความต่างระดับของน้ าทะเลบนพื้นผิวมหาสมุทร  เอเซียตะวันออกเฉียงใต้และทวีปออสเตรเลียตอนเหนือ  กระแสลมสินค้าพัดให้กระแส

    แปซิฟิก สีขาวแสดงระดับน้ าซึ่งสูงกว่าระดับน้ าทะเลปานกลาง 14 เซนติเมตร สีม่วงหรือสีเข้มแสดงระดับน้ าซึ่งต่ ากว่า  น้ าอุ่นบนพื้นผิวมหาสมุทรแปซิฟิกไปกองรวมกันทางทิศตะวันตก จนมีระดับสูงกว่า

    ระดับน้ าทะเลประมาณ -18 เซนติเมตร ขณะที่เกิดลานีญา - เอลนีโญ                           ระดับน้ าทะเลปกติประมาณ 60 – 70 เซนติเมตร แล้วจมตัวลง กระแสน้ าเย็นใต้

                                                                                           มหาสมุทรซีกเบื้องล่างไหลเข้ามาแทนที่กระแสน้ าอุ่นพื้นผิวซีกตะวันออก น าพาธาตุ

                                                                                           อาหารจากก้นมหาสมุทรขึ้นมาท าให้ปลาชุกชุม เป็นประโยชน์ต่อนกทะเลและการท า

                                                                                           ประมงชายฝั่งของประเทศเปรูดังภาพที่ 1




                                                                                                                                                  34
   32   33   34   35   36   37   38   39