Page 4 - tinnapop
P. 4
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
เวลาและการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์สากล
ความส าคัญของเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ การนับเวลาแบบไทย
ประวัติศาสตร์เป็นการสืบค้นอดีตของมนุษย์ เพื่อศึกษาว่ามนุษย์ในอดีตได้คิดอะไร ได้ท าอะไร พุทธ ศักราช (พ.ศ.)
ความคิดละการกระท าดังกล่าวมีอิทธิพลต่อชีวิตของมนุษย์ทั้งในสมัยนั้นและสมัยต่อมาอย่างไร เป็นการนับเวลาทางศักราชในกลุ่มผู้นับถือพระพุทธ ศาสนา โโยเริ่มนับตั้งแต่
หากแต่อดีตของมนุษย์นั้นยาวนานมาก นับเมื่อมนุษย์เริ่มประดิษฐ์ตัวอักษรก็มีอายุประมาน พระพุทธเจ้าเสด็จดับขันธ์ปรินิพพาน ให้นับเป็นพุทธศักราชที่1 ทั้งนี้ประเทศไทย
5,400 ปีล่วงมาแล้ว และถ้านับย้อนไปถึงช่วงเวลาที่มนุษย์ถือก าเนิดขึ้นบนโลกก็ยิ่งยาวไกล จะนิยมใช้การนับเวลาแบบนี้ โดยเริ่มใช้ตั้งแต่ครั้งสมัยสมเด็จพระนารายณ์
เกินกว่า 3 ล้านปี การจะศึกษาประวัติศาสตร์ของมนุษย์ให้ละเอียดจึงเป็นเรื่องที่ยุ่งยาก มหาราช จนมาเป็ฯที่แพร่หลายและ ระบุใช้กันอย่างเป็นทางการในสมัยพระบาท
ซับซ้อนและยากต่อความเข้าใจ ดังนั้นนักประวัติศาสตร์จึงก าหนดให้ช่วงเวลาก่อนมีการใช้ สมเด็จพระมงกฎเกล้าเจ้าอยู่หัว(รัชกาลที่ 6) ในปีพุทธศักราช 2455
ตัวอักษรว่าเป็น สมัยก่อนประวัติศาสตร์และช่วงเวลาหลังจากนั้นเป็น สมัยประวัติศาสตร์ มหาศักราช (ม.ศ.)
การนับและการเทียบศักราชในประวัติศาสตร์สากล การ นับศักราชนี้จะพบในหลักฐานทางประวัติศาสตร์ในสมัยสุโขทัย และอยุธยา
ตอนต้นโดยคิดขึ้นจากกษัตริย์ของอินเดีย (พระเจ้ากนิษกะ) ซึ่งพ่อค้าอินเดียและ
การศึกษาประวัติศาสตร์หรือเรื่องราวของมนุษย์ในอดีตจ าต้องเข้าใจว่าจะศึกษา
พวกพราหมณ์น าเข้ามาเผยแพร่ในเวลาติดต่อการค้ากับไทยใน สมัยโบราณ จะ
เกี่ยวกับมนุษย์ในช่วงเวลาใดเวลาหนึ่งเป็นส าคัญ ซึ่งในส่วนที่เกี่ยวข้องกับเวลานั้นวีธี
มีปรากฎในศิลาจาลึกเพื่อบันทึกเรื่องราวเหตุกาณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้น ซึ่งถือว่าปีมหา
การนับศักราชของแต่ละภูมิภาคของโลกหรือของต่างประเทศมีความแตกต่างกัน ดังนั้น
ศักราชที่1 จะตรงกับปีพุทธศักราช 621
นักเรียนจึงต้องเข้าใจความแตกต่างของการนับศักราชดังกล่าว เพื่อที่จะสามารถ
วิเคราะห์หรือมองภาพอดีตในบริบทที่ถูกต้อง การตระหนักว่าวิธีการนับศักราชของโลก
ตะวันตกและตะวันออก หรือในบางท้องถิ่นมีความแตกต่างกันจะช่วยลดความ
คลาดเคลื่อนในการศึกษาอดีตได้ 1