Page 45 - atom and Ptable
P. 45
แบบเรียนเสริมสร้างศักยภาพและทักษะ ครูภณพงษ์ สังข์วัง 41
อะตอมและตารางธาตุ
3 ตารางธาตุ
วิวัฒนำกำรของกำรสร้ำงตำรำงธำตุ
โยฮันน์ วอล์ฟกัง เดอร์เบอไรเนอร์ (คศ.1817)
ได้น ำธำตุต่ำง ๆ ที่พบในขณะนั้นมำจัดเรียงเป็น
ตำรำงธำตุ โดยน ำธำตุต่ำง ๆ ที่มีสมบัติคล้ำยคลึงกันมำ
จัดไว้ในหมู่เดียวกัน หมู่ละ 3 ธำตุ เรียงตำมมวลอะตอมจำกน้อยไปมำกในแต่
ละหมู่ มวลอะตอมของธำตุที่อยู่กลำงจะเป็นค่ำเฉลี่ยของมวลอะตอมของธำตุที่
เหลืออีก 2 อะตอม เรียกว่ำกฎชุดสำม (law of triads หรือ Dobereine’ s
law of triads)
ที่มา:http://en.wikipedia.org/wiki/Johann_Wolfgang_D%C3%B6bereiner
จอห์น อเล็กซำนเดอร์ เรนำ นิวแลนส์ (คศ.1864)
นักเคมีชำวอังกฤษได้พบว่ำเมื่อน ำธำตุต่ำง ๆ มำเรียงล ำดับ
ตำมมวลอะตอมจำกน้อยไปหำมำก ให้เป็นแถวตำมแนวนอน สมบัติ
ของธำตุจะมีลักษณะคล้ำยกันเป็นช่วง ๆ ซึ่งลักษณะดังกล่ำวเกิดขึ นทุก ๆ ของ
ธำตุที่ 8 เรียกกฎกำรจัดตำรำงธำตุของนิวแลนด์ส์ว่ำ law of octaves หรือ
Newlands’ law of octaves
ที่มา:http://www.rmutphysics.com/charud/virtualexperiment/virtual2/periodic/periodic2/table60.htm
l
ดมีตรี เมนเดเลเยฟ (คศ.1869)
กล่ำวคือ “ถ้ำเรียงล ำดับธำตุตำมมวลอะตอมจำกน้อยไปหำมำก
จะพบว่ำธำตุ ๆ ต่ำง จะมีสมบัติคล้ำยคลึงกันเป็นช่วง ๆ ” ซึ่ง
เมเดเลเอฟได้ตั งเป็นกฎเรียกว่ำ “กฎพิริออดิก” หรือกฎตำรำงธำตุ (Periodic
law)
ที่มา:http://www.rmutphysics.com/charud/virtualexperiment/virtual2/periodic/periodic2/table60.html