Page 103 - Bella
P. 103

98.












          ปัจจัยที่มีผลต่อค าการเก็บประจุ


                     ค่าความจุของตัวเก็บประจุจะมีค่ามากหรือน้อยขึ้นอยู่กับตัวแปร 3 ประการ

                     1. พื้นที่หน้าตัดของสารตัวน าที่เป็นแผ่นเพลท เขียนแทนด้วยอักษร A  ถ้า
          พื้นที่หน้าตัดมากแสดงว่าสามารถเก็บประจุได้มากถ้าพื้นที่หน้าตัดน้อยแสดงว่าเก็บประจุ

          ได้น้อยเพราะฉะนั้นจะเห็นได้ว่าในวงจรอิเล็กทรอนิกส์ทั่วไปนั้นจะประกอบไปด้วยตัว

          เก็บประจุขนาดเล็กและขนาดใหญ่จ านวนมาก ตัวเก็บประจุที่มีขนาดใหญ่จะเก็บประจุได้

          มากเพราะมีพื้นที่หน้าตัดมากนั่นเอง

                     2. ระยะห่างระหว่างแผ่นเพลททั้งสอง เขียนแทนด้วยอักษร dถ้าอยู่ใน

          ต าแหน่งที่ใกล้กันความจุจะมีค่ามาก ถ้าอยู่ในต าแหน่งที่ไกลกันความจุจะมีค่าน้อย


                     3.   ค่าคงที่ไดอิเล็กตริก ค่าคงที่ของไดอิเล็กตริก เป็นค่าที่ใช้แสดงถึง
          ความสามารถในการที่จะท าให้เกิดเส้นแรงแม่เหล็กขึ้นเมื่อน าวัสดุต่างชนิดกันมาท าเป็น

          ฉนวนคั่นระหว่างแผ่นเพลท ค่าคงที่ของไดอิเล็กตริกแต่ละตัวจะแตกต่างกันออกไป

          ดังนั้นตัวเก็บประจุที่ใช้ไดอิเล็กตริกต่างกัน ถึงแม้จะมีขนาดเท่ากันค่าความจุและอัตรา

          ทนแรงดันอาจแตกต่างกันออกไป สุญญากาศเป็นไดอิเล็กตริกที่มีประสิทธิภาพน้อยที่สุด
          เมื่อเทียบกับวัสดุชนิดอื่น การจ่ายแรงเคลื่อนไฟฟ้ามากเกินพิกัด อาจท าให้ไดอิเล็กตริก

          สูญสภาพจากฉนวนกลายเป็นตัวน าได้

                      วัสดุ         ค่าคงที่ไดอิเล็กตริก         วัสดุ         ค่าคงที่ไดอิเล็กตริก


                   สุญญากาศ                  1                  ไมก้า                 5.5

                     อากาศ                1.0006                ไมลา                   3

                     เซรามิก             30 - 7500              น้ ามัน                4


                               ตารางที่ 7.1 ค่าคงที่ไดอิเล็กตริงของวัสดุชนิดต่างๆ
   98   99   100   101   102   103   104   105   106   107   108