Page 178 - วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต ปีที่ 13 ฉบับที่ 1
P. 178
วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต 173
การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมเพื่อก าหนดมาตรฐานท่าร าพื้นฐาน
และสร้างสรรค์กลอนเพลงท่าร าพื้นฐานส าหรับเพลงโคราช
A Participatory Action Research to Determine Standard Dance Postures
and to Create Song Lyrics for Korat Songs
เรขา อินทรก าแหง 1
1
Rekha Intarakamhaeng
บทคัดย่อ
การวิจัยในครั้งนี้จัดท าขึ้นเพื่อศึกษาองค์ความรู้ด้านมาตรฐานท่าร าพื้นฐานของเพลง
โคราช จัดท าขึ้นภายใต้ การมีส่วนร่วม โดยสร้างสรรค์ในรูปแบบของการประพันธ์กลอน
เพลงที่อธิบายชื่อท่าร า ลักษณะความหมายของการใช้ ท่าร าที่ถูกต้อง พร้อมกับน า
ท่าร าพื้นฐานที่ได้มาตรฐานมาประยุกต์ร่วมกับกลอนเพลง รวบรวมข้อมูลด้วยแบบ
สัมภาษณ์ที่ไม่มีโครงสร้างและไม่เป็นทางการ ด าเนินงานวิจัยด้วยกิจกรรมกลุ่ม
การวิพากษ์ร่วมกับผู้ทรงคุณวุฒิจากสมาคมเพลงโคราช เพื่อสร้างการยอมรับใน
การต่อยอดภูมิปัญญาร่วมกัน
ผลการวิจัยพบว่า ท่าร าที่เป็นพื้นฐานในการน าไปใช้ประกอบเพลงโคราช
มีท่าร าที่เป็นมาตรฐานส าหรับประกอบการแสดงตามความหมายของค าร้อง
ที่เหมาะสมในเพลงแต่ละประเภท ได้แก่ ท่าร าพื้นฐาน จ านวน 7 ท่า ประกอบด้วย ท่า
เตรียม 1 ท่า คือ ท่าโอ่ และท่าร าที่สื่อความหมาย 6 ท่า คือ 1) ท่ารอ ท่าย่อง ท่าล่อ
หรือท่าย่างสามขุม 2) ท่าช้างเทียมแม่ 3) ท่าปลาไหลพันพวง 4) ท่าจก 5) ท่า
ประจัญบาน และ 6) ท่าปักหลัก
การศึกษาในครั้งนี้ยังพบว่า ลักษณะการแสดงเพลงโคราชมีการพัฒนาปรับเปลี่ยน
รูปแบบการแสดงที่หลากหลาย เพื่อให้สามารถเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายที่เป็นวัยรุ่น
1 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ โปรแกรมวิชานาฏศิลป์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และ
รองผู้อ านวยการส านักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
ปีที่ 13 ฉบับที่ 1 มกราคม – มิถุนายน 2560