Page 195 - วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต ปีที่ 13 ฉบับที่ 1
P. 195
190 วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต
จะน ามาซึ่งประโยชน์อย่างต่อเนื่องในการด าเนินกิจกรรมที่หลากหลาย โดยเฉพาะ
การเป็นส่วนหนึ่งในงานส่งเสริมและอนุรักษ์ศิลปะการแสดงพื้นบ้านเพลงโคราช ทั้งนี้
การด าเนินงานของสมาคมเพลงโคราชมีพันธกิจหลักในการส่งเสริม การอนุรักษ์ และ
การเผยแพร่ความรู้ การน ากลอนเพลงเพื่อใช้เป็นส่วนหนึ่งในงานส่งเสริมและเผยแพร่
ความรู้โดยสมาคมเพลงโคราช จึงมีความส าคัญต่อการสร้างหมอเพลงรุ่นใหม่
การถ่ายทอดความรู้ และการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันระหว่างหมอเพลงอาชีพ ทั้งด้าน
ภาษา การท่องจ ากลอนเพลง วิธีการขับร้อง ชื่อท่าร าและความหมายของท่าร า
ต่อการน าไปใช้ที่เหมาะสมและการฝึกปฏิบัติท่าร า รวมถึงการน าไปประยุกต์ใช้ให้เกิด
ประโยชน์ร่วมกับกลอนเพลงในบริบทที่มีความหมายแตกต่างกันได้อย่างถูกต้องต่อไป
ในอนาคต
สรุปผลและอภิปรายผล
1. มาตรฐานท่าร าพื้นฐานเพลงโคราช
จากการศึกษา พบว่า ท่าร าพื้นฐานประกอบศิลปะการแสดงพื้นบ้านเพลง
โคราช มีลักษณะการเคลื่อนไหวที่คล้ายคลึงกันหรือเหมือนกันในบางท่าร า แต่เรียกชื่อ
แตกต่างกันออกไป เช่น ท่ารอ ท่าย่อง ท่าล่อ ท่าย่างสามขุม ท่าย่อ เป็นต้น ทั้งนี้อาจเกิด
จากส าเนียงของภาษา การเรียกเพี้ยนต่อกันมา การเรียกตามความเข้าใจ หรือเรียก
จากการมองเห็นลักษณะท่าทางการร าของหมอเพลง แต่ชื่อท่าร าที่เรียกแตกต่างกัน
นั้นล้วนมีความหมายและลักษณะการน าไปใช้โดยขึ้นอยู่กับบริบทต่าง ๆ เช่น การใช้สื่อ
ความหมาย การร าเพื่อประกอบท านองเพลง ข้อก าหนดของการน ามาใช้
ลักษณะเฉพาะของฝ่ายชายและฝ่ายหญิง เป็นต้น ดังนั้นท่าร าพื้นฐานส าหรับการร า
ประกอบการแสดงพื้นบ้านเพลงโคราชจึงเป็นท่าหลักที่นิยมใช้สืบต่อกันมาจนถึง
ปัจจุบัน ซึ่งสอดคล้องกับการศึกษาของ เพียงพิมล กองวารี (2556 : 59-60) กล่าวว่า
ท่าร าเพลงโคราชถึงใช้ร าเฉพาะบางเพลงแต่ก็เป็นท่าพื้นฐานของท่าร าทุกท่า ซึ่ง
สามารถดัดแปลงจากท่าพื้นฐานและร าต่อเนื่องกันได้ทุกท่า ทั้งนี้การร าที่แตกต่างกัน
นั้นอาจขึ้นอยู่กับบุคลิกและลักษณะของหมอเพลงโคราชแต่ละคน ท่าร าพื้นฐานจึงเป็น
ปีที่ 13 ฉบับที่ 1 มกราคม – มิถุนายน 2560