Page 18 - Chapter 3
P. 18

15




                                                       ใบความรู้ที่  3


                                                 เรื่อง  การเขียนสมการเคมี


                   จุดประสงค์การเรียนรู้  นักเรียนสามารถเขียนและดุลสมการโมเลกุลและสมการไอออนิกได้



                   รูปแบบของสมการเคมี

                             รูปแบบของสมการเคมีอาจจะแบ่งเป็น  2    ประเภท คือ  สมการโมเลกุล (Molecular

                   equation)  และสมการไอออนิก (Ionic   equation)

                   ก.    สมกำรโมเลกุล  หมำยถึง  สมการเคมีที่สารทั้งหมดในปฏิกิริยา   ทั้งสารตั้งต้น  และผลิตภัณฑ์
                   เขียนอยู่ในรูปของสูตรโมเลกุล หรืออะตอม   เช่น


                          2KI (aq)  +  Pb(NO 3) 2  (aq)      PbI 2 (s)   +  2KNO 3 (aq)
                          Zn(s)  +    2HCl  (aq)      ZnCl 2  (aq)   +  H 2 (g)

                          NaOH  (aq)   +  HCl (aq)    NaCl (aq)  +   H 2O ( l )


                   ข.  สมกำรไอออนิก  หมำยถึง   สมการที่แสดงไอออนอิสระของสารประกอบไอออนิกในสารละลายครบ

                   ทุกชนิด   ส่วนสมการเคมีที่แสดงเฉพาะไอออนที่เข้าท าปฏิกิริยากันแล้วเกิดเป็นผลิตภัณฑ์ เรียกว่า

                   สมการไอออนิกสุทธิ   เช่น  เมื่อผสมสารละลายแคลเซียมไฮดรอกไซด์ ( Ca(OH) 2  )  กับสารละลาย
                   โซเดียมคาร์บอเนต ( Na 2CO 3 )  แล้วพบว่ามีตะกอนเกิดขึ้น

                      สมการไอออนิก
                                                                2-
                                                    +
                                         -
                           2+
                                                                                          -
                                                                                                     +
                         Ca (aq)  +  2OH(aq) +  2Na (aq)  +  CO 3 (aq)  CaCO 3(s) +   2OH(aq) +  2Na (aq)
                      สมการไอออนิกสุทธิ
                           2+
                                         2-
                         Ca (aq)   +  CO 3 (aq)   CaCO 3(s)
                             สมการไอออนิกสุทธิที่สมบูรณ์จะต้องท าให้ดุลทั้งจ านวนอะตอมและจ านวนประจุโดยเติมเลข

                   ข้างหน้าอนุภาคที่เกี่ยวข้องในปฏิกิริยา   เช่น
                                         +
                                                    -
                                       Ag (aq)  +  Cl  (aq)     AgCl(s)
                                                    -
                                          2+
                                       Pb (aq)  +  2I (aq)      PbI 2(s)
                                                     +
                                                                  2+
                                       Mg(s)     +  2H (aq)    Mg (aq)  +  H 2(g)
   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23