Page 18 - EBOOK-TRON_2018
P. 18
ความสำาคัญและความเป็นมา
ปัจจุบันนี้วงการเซรามิกนับว่ามีการแข่งขันสูงโดยเฉพาะด้านการออกแบบซึ่งเป็นกระบวนการที่ละเอียดและซับ
ซ้อน ไม่ว่าจะเป็นวัตถุดิบในการสร้างงาน เทคนิคการตกแต่งและกระบวนการผลิต ดังนั้นการแสวงหารูปแบบ
ใหม่ในการสร้างสรรค์ผลงานให้มีเอกลักษณ์ที่โดดเด่นจึงสามารถเป็น “ต้นแบบ” ในการพัฒนาต่อยอดองค์ความ
รู้และความคิดในระดับภูมิปัญญาของชาติได้ ทั้งนี้ต้องคำานึงถึงการประหยัดต้นทุน พลังงานและเวลาควบคู่กับการ
ผลิตผลงานศิลปะที่มีคุณค่า การตกแต่งพื้นผิวบนงานเซรามิกนับเป็นทักษะอย่างหนึ่งที่ทำาให้ผลงานมีความงดงาม
แปลกตาและน่าสนใจ ลูกไม้เซรามิก (Lace Ceramic) เป็นเทคนิคตกแต่งแบบหนึ่งซึ่งทำากันมานานแล้วในประเทศ
แถบยุโรปมีความสวยงามละเอียดอ่อน หรูหรา ดูมีค่าสูง และเมื่อผลงานสำาเร็จลงแล้ว ผ้าลูกไม้จะเป็นส่วนหนึ่ง
ของผลงานไม่ได้เป็นเพียงการตกแต่งพื้นผิวแต่อย่างเดียว อย่างไรก็ตาม การทำางานลูกไม้เซรามิกยังไม่เป็นที่แพร่
หลายและไม่มีการบันทึกด้านเทคนิคและวิธีการออกแบบที่ชัดเจนในด้านของกระบวนการออกแบบเชิงศิลปะ
การออกแบบลูกไม้เซรามิกจากเครื่องแต่งกายของสตรีไทยสมัยรัชกาลที่ 5 - รัชกาลที่ 7 เป็นวิจัยเชิงคุณภาพที่
การสร้างองค์ความรู้ใหม่ในรูปแบบการวิจัยที่ศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับการแต่งกายของสตรีไทยชั้นสูงในสมัยพระบาท
สมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวจนถึงสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งมีจุดเด่นในการสร้างสรรค์
ชุดสตรีไทยที่ประยุกต์จากเครื่องแต่งกายสตรีตะวันตกจนกลายเป็นเครื่องแต่งกายไทยที่มีรูปแบบที่สวยงาม แรงบันดาลใจสมัยรัชกาลที่ 5 แรงบันดาลใจสมัยรัชกาลที่ 6 แรงบันดาลใจสมัยรัชกาลที่ 7 แรงบันดาลใจรวม 3 รัชกาล
วัตถุประสงค์
การนำาผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ สรุปกระบวนการดำาเนินการวิจัย
1. เพื่อหากระบวนการสร้างสรรค์ผลงานการออกแบบลูกไม้เซรามิกให้มีเอกลักษณ์และเป็นงานต้นแบบได้
2. เพื่อสร้างสรรค์ผลงานที่เชิดชูแนวความคิดของวัฒนธรรมไทยในด้านการแต่งกายสมัยรัชกาลที่ 5 - รัชกาลที่ 7 การนำาภาพรวมของเครื่องแต่งกายมาวิเคราะห์ให้เป็น
3. เพื่อหากระบวนการออกแบบสร้างสรรค์งานเซรามิกเชิงศิลปะที่สามารถลดต้นทุนการผลิตสำาหรับใช้ประยุกต์ โครงสร้างของรูปทรงหลักนั้น สามารถนำาไปประยุกต์ใช้
และต่อยอดในการผลิตเป็นจำานวนมาก กับแรงบันดาลใจอย่างอื่นโดยใช้หลักการตัดทอนในการ
ออกแบบได้ เมื่อได้โครงสร้างแล้วจะนำาไปปรับเปลี่ยน
จุดเด่น ผลงานรวม 3 รัชกาล ผลงานรวม 3 รัชกาล แรงบันดาลใจจากสมัย ต่อเติมและตกแต่งได้ การนำาลูกไม้เซรามิกไปใช้ในการ
ชุดที่ 2 ชุดที่ 3 รัชกาลที่ 5 ชุดที่ 1 ผลิตผลงานจำานวนมากจะช่วยลดต้นทุนในการผลิต
งานวิจัย การออกแบบลูกไม้เซรามิกจาก ชิ้นที่ 1 โดยเฉพาะพลังงานในการเผาและต้นทุนการใช้เคลือบ
เครื่องแต่งกายสตรีไทยสมัยรัชกาลที่ 5 – ตารางวิเคราะห์ข้อมูลรูปทรงและองค์ประกอบ ส่วนเทคนิคการซ่อมผลงานแตกร้าวหลังจากการเผาโดย
รัชกาลที่ 7 ได้ค้นพบกระบวนการสร้างสรรค์ การใช้ผ้าลูกไม้ชุบน้ำาสลิปติดทับแล้วนำาไปเผาอีกครั้ง
ผลงานเซรามิกและแนวทางการออกแบบให้ สามารถนำาไปประยุกต์ใช้กับผลงานออกแบบลักษณะ
มีเอกลักษณ์ เชิดชูวัฒนธรรมการแต่งกาย อื่นได้
และสามารถพัฒนาเป็นต้นแบบและลดต้นทุน
การผลิตจากขั้นตอนการทำางานและการเผา แรงบันดาลใจจากสมัย แรงบันดาลใจจากสมัย
ครั้งเดียว แนวความคิดในการออกแบบและ รัชกาลที่ 5 ชุดที่ 1 ชิ้นที่ 2 รัชกาลที่ 5 ชุดที่ 2
กระบวนการทำางานสามารถเป็นแนวทางในการ
ต่อยอดสร้างสรรค์ผลงานเซรามิกได้ต่อไป
แรงบันดาลใจจากสมัย แรงบันดาลใจจากสมัย แรงบันดาลใจจากสมัย
รัชกาลที่ 6 ช่วงที่ 1 ชิ้นที่ 2 รัชกาลที่ 6 ช่วงที่ 1 ชิ้นที่ 3 รัชกาลที่ 6 ช่วงที่ 2 ชิ้นที่ 1
แรงบันดาลใจจากสมัย
รัชกาลที่ 6 ช่วงที่ 1
ชิ้นที่ 1
ผลงานรวม 3 รัชกาล แรงบันดาลใจจากสมัย แรงบันดาลใจจากสมัย
ชุดที่ 1 รัชกาลที่ 7 รัชกาลที่ 7 ชิ้นที่ 2
แรงบันดาลใจจากสมัย แรงบันดาลใจจากสมัย แรงบันดาลใจจากสมัย
มหกรรมงานวิจัยแห่งชาติ 2561 | 18 รัชกาลที่ 6 ช่วงที่ 2 ชิ้นที่ 2 รัชกาลที่ 6 ช่วงที่ 2 ชิ้นที่ 3 รัชกาลที่ 6 รวม 2 ช่วง 19 | Thailand Research Expo 2018