Page 5 - EBOOK-TRON_2018
P. 5
คว�มสำ�คัญและคว�มเป็นม�
ระบบตรวจจับและเตือนภัยดินโคลนถล่มและน้ำ�ป่�ไหลหล�ก
ด้วยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ทรงห่วงใยในสถานการณ์พิบัติภัยดินถล่มที่นับวันจะ การแสดงผลการตรวจจับบนแผนที่ 2 มิติ
ทวีความรุนแรงมากยิ่งขึ้น และได้ทรงมีพระราชกระแสต่อเลขาธิการมูลนิธิชัยพัฒนาให้หา
วิธีดำาเนินการป้องกันแก้ไขปัญหาดังกล่าว เมื่อวันที่ ๒๕ กรกฏาคม ๒๕๕๔ ณ ห้องประชุม
สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ อาคาร กล่องแสดงผลแบบ
เฉลิมพระเกียรติ โรงพยาบาลศิริราช ไม่ใช้กระแสไฟฟ้า
สำานักงานมูลนิธิชัยพัฒนา ได้สนองพระราชดำาริ โดยการจัดทำา “โครงการศึกษาวิจัยและ
พัฒนาการแก้ไขปัญหาดินถล่มบนที่สูงชันตามแนวพระราชดำาริ (มูลนิธิชัยพัฒนา)” คณะ
กรรมการดำาเนินงานโครงการ ฯ ได้พิจารณาเห็นว่างานวิจัยเรื่อง “รั้วไร้สาย” เป็นเทคโนโลยี
ที่ใช้เพื่อประโยชน์ด้านความมั่นคงของประเทศ ซึ่งกองทัพเรือ โดยมีนาวาเอก อนุสรณ์
ยังคุ้มญาติ และคณะ เป็นผู้ดำาเนินการ มีความเหมาะสมที่จะนำามาประยุกต์และพัฒนาต่อยอด
ในส่วนของระบบเฝ้าระวังภัยดินถล่ม จึงขอรับการสนับสนุนจากกองทัพเรือ จัดส่ง ตัวตรวจจับ ที่มีความง่ายในการสร้าง
เจ้าหน้าที่เข้าร่วมพัฒนาอุปกรณ์การตรวจวัดและเฝ้าระวังภัยดินถล่ม รวมทั้งดำาเนินการอื่นใน
ภาคสนามกับคณะวิจัย “โครงการศึกษาวิจัยและพัฒนาการแก้ไขปัญหาดินถล่มบนที่
สูงชันตามแนวพระราชดำาริ (มูลนิธิชัยพัฒนา)” เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ของโครงการฯ กล่องแสดงผลแบบ
แสดงระยะและทิศทาง
จุดเกิดเหตุ
วัตถุประสงค์
เพื่อแก้ไขปัญหาระบบเตือนภัยที่มีใช้อยู่เดิม เช่น ตัวตรวจจับไม่ทนทานต่อ
สภาวะแวดล้อมในช่วงเกิดเหตุการณ์ และขาดกระแสไฟฟ้าไปเลี้ยงระบบ
เป็นต้น ทำาให้ระบบมีความเชื่อถือได้น้อย และไม่สามารถตรวจจับและเตือน
ภัยล่วงหน้าได้อย่างมีประสิทธิภาพ
การแสดงผลการตรวจจับและเตือนภัยบนแผนที่ 3 มิติ จุดเด่น
ผ่านอินเตอร์เน็ต
• ระบบสามารถวางตัวตรวจจับไว้เป็นแนว เป็นชั้น ทำาให้ตัวตรวจจับแต่ละตัวทำางานทดแทนกันได้
ในกรณีที่ตัวหนึ่งตัวใดเสีย ระบบจะยังทำางานได้ ทำาให้ระบบในภาพรวมมีความเชื่อถือได้สูงมาก
• ตัวตรวจจับแต่ละตัวที่ออกแบบไว้ทนทานต่อสภาวะแวดล้อมที่เปียกชื้นได้เป็นอย่างดี สามารถ
ทำางานได้แม้จมอยู่ใต้น้ำา ส่งผลให้ระบบมีความเชื่อถือได้สูงตามไปด้วย
• การส่งข้อมูล ไปยังผู้ใช้ จะเน้นการส่งข้อมูลทางสาย เพื่อความเชื่อถือได้ของระบบ ส่วนการส่งไป ก�รนำ�ผลง�นวิจัยไปใช้ประโยชน์
พื้นที่ใต้น้ำา จะส่งได้ทั้งทางสายและไร้สาย (แต่จะเน้นให้ใช้สายมากว่า เพราะใช้งานง่าย ราคาถูก ดูแล
รักษาต่ำา และที่สำาคัญ เมื่อมันขาด ระบบจะเตือนทันที จึงมีความเชื่อถือได้อย่างยิ่ง) ได้นำาความรู้ไปถ่ายทอดให้กับผู้ใช้ในพื้นที่จังหวัดอุตรดิตถ์
• ระบบมีระยะตรวจจับได้ไกลและครอบคลุมเป็นพื้นที่ได้ยาวทิศทางละมากกว่า ๒,๐๐๐ เมตร ทำาให้ (จังหวัดต้นแบบ) ได้ในทุกระดับ เช่น นักวิจัยท้องถิ่น
การวางแนวตรวจจับได้ง่าย ครอบคลุมเป็นพื้นที่ขนาดใหญ่ ไม่ต้องกังวลว่าจะวางไม่ตรงจุดที่เกิดเหตุ นิสิต นักศึกษา และอาจารย์ในมหาวิทยาลัยในจังหวัด
• ส่วนแสดงผล มีแบบที่ใช้กระแสไฟฟ้าน้อย และแบบไม่ใช้กระแสไฟฟ้าในช่วงตรวจจับเลย และมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ได้มีโอกาสสร้างและ
• ระบบมีความง่ายในการสร้าง การใช้งานและการซ่อมบำารุง พัฒนาอุปกรณ์ไว้ใช้เอง จนมีความยั่งยืนในระดับหนึ่งแล้ว
• มี False Alarm ต่ำา สามารถแก้ปัญหากิ่งไม้ตกใส่ และสัตว์กัดแทะระบบได้ นอกจากนี้ยังสามารถนำาไปประยุกต์ใช้เพื่อการอื่นๆ ได้ด้วย
• ต้นทุนการผลิต ถูกกว่าของต่างประเทศ ไม่ต่ำากว่า ๒๐ เท่า และยังมีระยะตรวจจับที่ยาวมากกว่า เช่น แนวรั้วเตือนการบุกรุกของช้างป้า หรือไฟไหม้ป่าที่จุด
ของต่างประเทศ 40 เท่า ที่ต้องการเฝ้าระวัง เป็นต้น
• แสดงผลบนแผนที่ ๒ มิติ และ ๓ มิติ ผ่านระบบอินเตอร์เน็ตได้ ทำาให้การบริหารจัดการข้อมูล
เชิงพื้นที่ได้อย่างรวดเร็ว
ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล เลขาธิการ
มูลนิธิชัยพัฒนา กำาหนดกรอบ • เน้นการนำาไปใช้งาน เพื่อเตือนภัย ให้แก่บ้านประชาชนที่อยู่ต้นน้ำา ใกล้พื้นที่ดินถล่ม ให้มีระบบ
การดำาเนินงานวิจัย เตือนภัยล่วงหน้า เพื่อเอาชีวิตรอด และขณะเดียวกันข้อมูล จะส่งไปพื้นที่ใต้น้ำา อัตโนมัติด้วย
มหกรรมงานวิจัยแห่งชาติ 2561 | 4 5 | Thailand Research Expo 2018