Page 129 - รวมระเบียบ ข้อบังคับ คำแนะนำ
P. 129

ค ำแนะน ำของประธำนศำลฎีกำเกี่ยวกับบัญชีมำตรฐำนกลำงหลักประกันกำรปล่อยชั่วครำวผู้ต้องหำ

                                                                                                         ื่
               หรือจ ำเลยพ.ศ.2547 เป็นแนวทำง โดยมิควรเรียกหลักประกันสูงกว่ำบัญชีมำตรฐำนดังกล่ำว ทั้งนี้ เพอให้
               สอดคล้องกับบทบัญญัติตำมรัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย มำตรำ 29 วรรค 5 ซึ่งบัญญัติว่ำ

                                                                                                           ิ
                                                                                                     ั
                                                                 ้
                                                                         ิ
                                                     ี
                                                            ้
                           ั
                                ้
               “ค าขอประกนผู้ตองหาหรือจ าเลยในคดอาญาตองไดรับการพจารณาและจะเรียกหลักประกนจนเกน
                                                                            ิ
               ควรแก่กรณีมิได้ การไม่ให้ประกันต้องเป็นไปตามที่กฎหมายบัญญัต”
               ตัวอย่าง การพิจารณาสั่งค าร้องขอปล่อยชั่วคราวที่ไม่เสนอหลักประกันมาพร้อมกับค าร้อง
                       เมื่อมีกำรยื่นค ำร้องขอปล่อยชั่วครำวที่ไม่เสนอหลักประกันมำพร้อมกับค ำร้อง ศำลอำจสั่งค ำร้องดังนี้
                       - อนุญำตให้ปล่อยชั่วครำวโดยไม่มีประกัน  ให้ผู้ต้องหำ (จ ำเลย) สำบำน (ปฏิญำณ) ตนว่ำจะมำ
               ตำมนัดหรือหมำยเรียก
                       - อนุญำตให้ปล่อยชั่วครำวโดยมีประกันในวงเงิน............ ท ำสัญญำประกัน

                       - อนุญำตให้ปล่อยชั่วครำวโดยมีประกันในวงเงิน............... โดยก ำหนดเวลำให้ผู้ขอประกัน
               น ำหลักประกันมำวำงพร้อมกับท ำสัญญำประกันก่อนปล่อยตัว มิฉะนั้นให้ยกค ำร้องขอปล่อยชั่วครำว

                       - ไม่อนุญำตให้ปล่อยชั่วครำว ซึ่งต้องแสดงเหตุผลที่ไม่อนุญำตด้วย

                       เมื่อศำลมีค ำสั่งประกำรใดแล้ว ให้เจ้ำหน้ำที่ที่เกี่ยวข้องปฏิบัติตำมค ำสั่งศำลต่อไป
                       ถ้ำศำลเห็นสมควรให้มีกำรประเมินควำมเสี่ยงก่อนเพอน ำข้อมูลมำประกอบกำรพจำรณำให้สั่ง
                                                                                                 ิ
                                                                       ื่
               ในค ำร้องว่ำ “ประเมินควำมเสี่ยง” และสั่งอนุญำตหรือไม่อนุญำตให้ปล่อยชั่วครำวหลังจำกทรำบผล
               กำรประเมินควำมเสี่ยงแล้ว


               การประเมินความเสี่ยงอาจท าโดย

                              ๑. ให้เจ้ำหน้ำที่เก็บข้อมูลผู้ต้องหำหรือจ ำเลย หรือข้อมูลอื่น ๆ ตั้งแต่โอกำสแรกที่บุคคล
               เหล่ำนั้นมำศำล และรำยงำนให้ศำลทรำบโดยใช้แบบประวัติผู้ต้องหำ/จ ำเลย ท้ำยระเบียบรำชกำร

               ฝ่ำยตุลำกำรศำลยุติธรรมว่ำด้วยกำรปล่อยชั่วครำว พ.ศ.๒๕๔๘
                              ๒. ด ำเนินกำรตำมคู่มือส ำหรับผู้พพำกษำในกำรน ำร่องปฏิรูปกำรปล่อยชั่วครำวด้วยระบบ
                                                            ิ
               ประเมินควำมเสี่ยงและกำรก ำกับดูแลในชั้นปล่อยชั่วครำว สถำบันวิจัยรพีพัฒนศักดิ์ ส ำนักงำนศำลยุติธรรม
               ถ้ำผู้ต้องหำหรือจ ำเลยไม่ได้ยื่นค ำร้องขอปล่อยชั่วครำว แต่ศำลพจำรณำในเบื้องต้นแล้วเห็นควรให้โอกำส
                                                                         ิ
               แก่ผู้ต้องหำหรือจ ำเลยที่จะได้รับกำรปล่อยชั่วครำว  ศำลอำจให้เจ้ำหน้ำที่ศำลจัดให้ผู้ต้องหำหรือจ ำเลยนั้น

               ยื่นค ำร้องขอปล่อยชั่วครำวที่ไม่เสนอหลักประกันมำพร้อมกับค ำร้อง และสั่งให้ประเมินควำมเสี่ยง
               เพื่อน ำข้อมูลมำประกอบกำรพิจำรณำต่อไป

                              ผู้ต้องหำหรือจ ำเลยมีสิทธิยื่นค ำร้องขอปล่อยชั่วครำวในชั้นอุทธรณ์หรือฎีกำ โดยใช้ค ำร้อง
               ขอปล่อยชั่วครำวที่ไม่เสนอหลักประกันมำพร้อมกับค ำร้อง เอกสำรต่ำง ๆ ที่ศำลชั้นต้นต้องส่งให้ศำลอุทธรณ์
               หรือศำลฎีกำเพอประกอบกำรพจำรณำค ำร้องตำมระเบียบรำชกำรฝ่ำยตุลำกำรศำลยุติธรรมว่ำด้วย
                              ื่
                                              ิ
               กำรปล่อยชั่วครำว พ.ศ.๒๕๔๘ สำมำรถจัดท ำส ำเนำจำกส ำนวนควำมอิเล็กทรอนิกส์ของศำลชั้นต้นได้
               ศำลอุทธรณ์หรือศำลฎีกำอำจสั่งให้ศำลชั้นต้นท ำกำรประเมินควำมเสี่ยงแล้วรำยงำนผลให้ทรำบ
   124   125   126   127   128   129   130   131   132   133   134